ข้ามไปเนื้อหา

อาจริยวาท

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

อาจริยวาท แปลว่า วาทะของอาจารย์ เป็นคำที่คณาจารย์พุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทใช้เรียกพุทธศาสนานิกายใด ๆ ที่ไม่ยอมรับมติของพระเถระผู้ทำสังคายนาครั้งที่ 1 แต่ถือตามคำสอนของอาจารย์ของตน จึงเรียกว่า อาจริยวาท

ตามที่ปรากฏในคัมภีร์มหาวงศ์และทีปวงศ์ นิกายที่ถือเป็นอาจริยวาทมี 17 นิกาย[1] ได้แก่

ปัจจุบันอาจริยวาททั้ง 17 นิกายนี้เสื่อมไปหมดแล้ว คงเหลือแต่นิกายมหายาน ซึ่งเกิดขึ้นราวพุทธศตวรรษที่ 6 โดยพัฒนาต่อมาจากมหาสังฆิกะ[2]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สุชีพ ปุญญานุภาพ, พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน, พิมพ์ครั้งที่ 17, กรุงเทพฯ:มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2550, หน้า 685-6.
  2. Warder, A.K. Indian Buddhism. 2000. p. 11