หอยอาซาริ
หน้าตา
หอยอาซาริ | |
---|---|
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ | |
โดเมน: | ยูแคริโอต Eukaryota |
อาณาจักร: | สัตว์ Animalia |
ไฟลัม: | มอลลัสกา Mollusca |
ชั้น: | ชั้นไบวาลเวีย Bivalvia |
อันดับ: | Venerida Venerida |
วงศ์: | วงศ์หอยลาย Veneridae |
สกุล: | Ruditapes Ruditapes |
สปีชีส์: | Ruditapes philippinarum |
ชื่อทวินาม | |
Ruditapes philippinarum |
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์) | |
---|---|
พลังงาน | 360 กิโลจูล (86 กิโลแคลอรี) |
3.57 g | |
น้ำตาล | 0 g |
ใยอาหาร | 0 g |
0.96 g | |
อิ่มตัว | 0.187 g |
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว | 0.12 g |
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่ | 0.192 g |
14.67 g | |
ทริปโตเฟน | 0.205 g |
ทรีโอนีน | 0.7 g |
ไอโซลิวซีน | 0.693 g |
ลิวซีน | 1.2 g |
ไลซีน | 1.123 g |
เมไธโอนีน | 0.423 g |
ซิสตีน | 0.175 g |
ฟีนิลอะลานีน | 0.56 g |
ไทโรซีน | 0.597 g |
วาลีน | 0.743 g |
อาร์จินีน | 1.21 g |
ฮิสทิดีน | 0.3 g |
อะลานีน | 0.885 g |
กรดแอสปาร์ติก | 1.608 g |
กลูตาเมต | 2.248 g |
ไกลซีน | 0.64 g |
โพรลีน | 0.5 g |
ซีรีน | 0.69 g |
วิตามิน | |
วิตามินเอ | (11%) 90 μg(0%) 0 μg0 μg |
ไทอามีน (บี1) | (1%) 0.015 มก. |
ไรโบเฟลวิน (บี2) | (3%) 0.04 มก. |
ไนอาซิน (บี3) | (2%) 0.35 มก. |
(3%) 0.148 มก. | |
วิตามินบี6 | (1%) 0.01 มก. |
โฟเลต (บี9) | (1%) 5 μg |
วิตามินบี12 | (470%) 11.28 μg |
คลอรีน | (13%) 65 มก. |
วิตามินซี | (0%) 0 มก. |
วิตามินดี | (0%) 1 IU |
วิตามินอี | (5%) 0.68 มก. |
วิตามินเค | (0%) 0.2 μg |
แร่ธาตุ | |
แคลเซียม | (4%) 39 มก. |
เหล็ก | (12%) 1.62 มก. |
แมกนีเซียม | (5%) 19 มก. |
แมงกานีส | (4%) 0.085 มก. |
ฟอสฟอรัส | (28%) 198 มก. |
โพแทสเซียม | (1%) 46 มก. |
สังกะสี | (5%) 0.51 มก. |
องค์ประกอบอื่น | |
น้ำ | 78.98 g |
คอเลสเตอรอล | 30 mg |
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่ แหล่งที่มา: USDA FoodData Central |
หอยอาซาริ (アサリ, 浅蜊, 蛤仔, 鯏, ชื่อวิทยาศาสตร์: Ruditapes philippinarum หรือ Lajonkairia lajonkairii) เป็น หอยสองฝา ที่อยู่ในวงศ์ Veneridae[1] เป็นหอยกินได้ที่สำคัญที่สุดชนิดหนึ่ง ในความหมายกว้าง ๆ เป็นคำทั่วไปสำหรับเรียกหอยสองฝาที่อยู่ในสกุล Ruditapes ทั้งหมด
ในวัฒนธรรมไฮกุของญี่ปุ่น เป็นคำคิโงะ (คำประจำฤดูกาล) แสดงถึงฤดูใบไม้ผลิ[2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 岡田稔 (1981). 化学大辞典編集委員会(編) (บ.ก.). 化学大辞典. Vol. 1 (縮刷版第26版 ed.). 共立. pp. 56頁.
- ↑ 角川俳句大歳時記 春. 角川学芸出版. 2006. p. 448. ISBN 4-04-621031-1.