ข้ามไปเนื้อหา

ขบวนการนักผจญภัย โบเคนเจอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก สารานุกรม30เซ็นไท)
ขบวนการนักผจญภัย โบเคนเจอร์
ประเภทTokusatsu
Superhero fiction
Drama
Adventure
Sci-Fi
Fantasy
สร้างโดยToei
เขียนโดยShō Aikawa
Yasuko Kobayashi
Akatsuki Yamatoya
Naruhisa Arakawa
Junki Takegami
กำกับโดยSatoshi Morota
Shōjirō Nakazawa
Noboru Takemoto
Tarō Sakamoto
Katsuya Watanabe
Nobuhiro Suzumura
แสดงนำMitsuomi Takahashi
Yasuka Saitoh
Masashi Mikami
Chise Nakamura
Haruka Suenaga
Masayuki Deai
Hiroo Otaka
Junpei Morita
Mami Yamasaki
เสียงของBanjō Ginga
Takaya Kuroda
Kenta Miyake
Chihiro Suzuki
บรรยายโดยShinichirō Ōta
ดนตรีแก่นเรื่องเปิด"GoGo Sentai Boukenger" โดย NoB
ดนตรีแก่นเรื่องปิด"Bouken sha ON THE ROAD" โดย Psychic Lover
ผู้ประพันธ์เพลงKōtarō Nakagawa
ประเทศแหล่งกำเนิดญี่ปุ่น
จำนวนตอน49
การผลิต
ผู้อำนวยการสร้างSchreck Hedwick
Jun Hikasa
Takaaki Utsunomiya
Kōichi Yada
Masashi Yagi
ความยาวตอน30 นาที
ออกอากาศ
เครือข่ายtv asahi
ออกอากาศ19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2006 (2006-02-19) –
11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007 (2007-02-11)

ขบวนการนักผจญภัย โบเคนเจอร์ หรือในชื่อภาษาญี่ปุ่น โกโกเซ็นไต โบเคนเจอร์ (ญี่ปุ่น: 轟轟戦隊ボウケンジャーโรมาจิGōgō Sentai Bōkenjāทับศัพท์: GoGo Sentai Boukenger) เป็นละครโทรทัศน์โทคุซัทสึชุดซูเปอร์เซ็นไตซีรีส์ลำดับที่ 30 ในประเทศญี่ปุ่น ออกอากาศทุกวันอาทิตย์เวลา 7:30 น. - 8:00 น. ทางสถานีโทรทัศน์ทีวีอาซาฮิ ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2006 จนถึงวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2007 มีจำนวนตอนทั้งหมด 49 ตอน

ประวัติ

[แก้]

โบเคนเจอร์ เป็นผลงานลำดับที่ 30 ของซูเปอร์เซ็นไตซีรีส์ และเป็นการเฉลิมฉลองผลงานครบ 30 เรื่องของซูเปอร์เซ็นไตซีรีส์ ธีมหลักของเรื่องคือการล่าสมบัติล้ำค่า ซึ่งสมบัติล้ำค่าเรียกว่า พรีเชียส

เรื่องย่อ

[แก้]

ในโลกที่มีสมบัติล้ำค่ามหาศาลถูกซุกซ่อนอยู่ในสถานที่ต่างๆ องค์กร SGS (ชัซเซส : Search Guard Successor) ถูกจัดตั้งขึ้นมา เพื่อปกป้องสมบัติล้ำค่าต่างๆบนโลก และเรียกสมบัติล้ำค่านั้นว่า พรีเชียส

พรีเซียส ทั้งหมด ได้ถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีใน พิพิธภัณฑ์ SGS เพื่อมิให้ผู้ไม่หวังดีเอาพรีเชียสไปใช้ในทางมิชอบ เพื่อป้องกันไม่ให้พรีเซียสตกอยู่ในมือผู้ไม่หวังดี SGS จึงจัดตั้ง โบเคนเจอร์ ขึ้นมา เพื่อทำหน้าที่ปกป้องพรีเซียสและเข้าต่อกรกับผู้ไม่หวังดีด้วยวิทยาการอันทันสมัย

โบเคนเจอร์ ต้องเผชิญหน้ากับ กอร์ดอม จาริว ดาร์คชาโดว์ และ เผ่าอาชูว โดยทั้งหมดถูกเรียกว่า เนกาทีฟ ซีนดิเคด ผู้ก่อการร้ายที่หวังจะใช้พรีเซียสในการยึดครองโลก และ ครอบครองเป็นสมบัติของตน รวมถึงการไขปริศนาความลับของโลกในแง่มุมต่างๆ

ตัวละคร

[แก้]

พลังและความสามารถของโบเคนเจอร์

[แก้]

อุปกรณ์ผจญภัย

[แก้]
แอ็คเซลสูท (アクセルスーツ)
ชื่อ พลังชก พลังเตะ พลังกระโดด พลังความเร็ว
(100 เมตร)
โบเคนเรด ประมาณ 1.7 ตัน[1][2] ประมาณ 5.5 ตัน[1][2] 13 เมตร[1][3][2][4] 6.2 วินาที[1][2]
โบเคนแบล็ค ประมาณ 1.5 ตัน[3][4] ประมาณ 5 ตัน[3][5][4][6] 5.1 วินาที[3][4]
โบเคนบลู ประมาณ 1.4 ตัน[5][6] 15 เมตร[5][6] 5.6 วินาที[5][6]
โบเคนเยลโล่ ประมาณ 1.2 ตัน[7][8] ประมาณ 3.5 ตัน[7][8] 10 เมตร[7][8] 6.8 วินาที[7][8]
โบเคนพิงค์ ประมาณ 1 ตัน[9][10] ประมาณ 4 ตัน[9][10] 14 เมตร[9][10] 6.5 วินาที[9][10]
โบเคนซิลเวอร์ ประมาณ 1.6 ตัน[11][12] ประมาณ 5.6 ตัน[11][12] 13 เมตร[11][12] 6.0 วินาที[11][12]
มือถือผจญภัย แอ็คเซลเลอร์ (冒険ケータイ アクセルラー)
อุปกรณ์แปลงร่างของสมาชิกหลักของโบเคนเจอร์ทั้ง 5 รูปทรงโทรศัพท์มือถือ โดยปกติจะถูกเก็บไว้บนเสื้อแจ็คเก็ตตำแหน่งต้นแขนด้านซ้าย และเมื่อแปลงร่างเป็นโบเคนเจอร์จะถูกเก็บไว้ในส่วนเอวของเข็มขัด ดังนั้นพื้นที่จัดเก็บจึงเป็นจุดอ่อนหลังการแปลงร่าง
ส่วนหน้าจอและส่วนที่กดเชื่อมต่อ ด้วยแกนกลาง และส่วนของหน้าจอจะหมุน 180 องศาระหว่างการโทรและอินพุตคำสั่งเพื่อให้กลายเป็นโทรศัพท์ และอินพุตคำสั่งจะดำเนินการโดยการกดปุ่มที่เกี่ยวข้อง จากนั้นหมุนส่วนวงวงกลมเรียกว่าโกโกทาพิน ในส่วนการแปลงร่างของโบเคนเจอร์จะทำการให้กดปุ่มรูปดาวที่แถวบนสุด จากนั้นหมุนไปที่โกโกทาพิน ในการแปลงร่างจะพูดว่า สตาร์ทอัพ!
สโคปช็อต (スコープショット)
อุปกรณ์สารพัดประโยชน์ของโบเคนเจอร์ โดยมากมักใช้ในการค้นหาพรีเซียสและช่วยชีวิต สามารถเปลี่ยนได้ถึง 7 รูปแบบ
โบเคนไดรเวอร์ (ボウケンドライバー)
อุปกรณ์บังคับโกโกวิเคิล ในรูปแบบกระเป๋าเอกสาร เชื่อมต่อกับ แอ็คเซลเลอร์ เพื่อใช้ในการควบคุมโกโกวิเคิล
โบเคนชิปส์ (ボウケンチップ)
พรีเซียสบ็อกซ์ (プレシャスボックス)
อุปกรณ์ดำน้ำลึก (水中潜行装備)

อาวุธนักผจญภัย

[แก้]
เซอร์ไวบัสเตอร์ (サバイバスター)
ปืนพกประจำตัวของโบเคนเจอร์
เซอร์ไวเบลด (サバイブレード)
เซอร์ไวบัสเตอร์ รูปแบบดาบสั้น
แอ็คเซลเท็คเตอร์ (アクセルテクター)
เกราะเสริมเพื่อรองรับการใช้ดูอัลครัชเชอร์ ทำให้ลดแรงสะท้อนการยิง

โบเคนอาร์มส

[แก้]
โบเคนโบ (ボウケンボー) / โบเคนจาเวลริน (ボウケンジャベリン)
อาวุธประเภทไม้พลองของโบเคนเรด มีคีมจับที่ปลายไม้พลอง และเมื่อโบเคนเรด กดปุ่มบนโบเคนโบ ทำให้ใบมีดโผล่มาจากปากคีม ทำให้กลายเป็นอาวุธประเภทหอก
เรเดียลแฮมเมอร์ (ラジアルハンマー)
อาวุธประเภทค้อนรูปแบบยางล้อรถของโบเคนแบล็ค โจมตีด้วยการทุบหรือใช้ขว้างแบบบูมเมอร์แรงได้
โบว์นัคเคิล (ブロウナックル)
อาวุธประเภทนวมติดใบพัดรูปแบบเครื่องบินไจโรของโบเคนบลู โดยมากมักใช้ในการเหาะ
บัคเก็ตสคูปเปอร์ (バケットスクーパー)
อาวุธประเภททสนับมือรูปแบบกระบะทราย ของโบเคนเยลโล่ มีพลังแข็งแกร่งสามารถทำลายภูเขาได้ในพริบตา
ไฮโดรชูตเตอร์ (ハイドロシューター)
อาวุธประเภทพปืนแรงดันน้ำพลังสูงรูปแบบเรือดำน้ำของโบเคนพิงค์ มีพลังแรงดันน้ำสูง
ดูอัลคลัชเชอร์ (デュアルクラッシャー)
อาวุธประเภทปืนพลังงานสูง
มิกเซอร์เฮด (ミキサーヘッド)
มีต้นแบบมาจาก โกโกมิกเซอร์ ใช้ในการยิงสกัดกั้นศัตรู โดยเมื่อยิงลำแสงออกไป ศัตรูที่โดนลำแสงจะถูกแช่แข็งคล้ายกับการเทปูนคอนกรีต
ดริลเฮด (ドリルヘッド)
รูปแบบหัวยิงสว่าน มีต้นแบบมาจาก โกโกดริล ใช้ในการกำจัดศัตรู แต่เนื่องจากมีพลังที่รุนแรงจึงทำให้ต้องมีคนช่วยประคอง เพื่อลดแรงสะท้อนการยิง ในภายหลังได้ปรับปรุงให้ลดแรงสะท้อนการยิงได้ โดยการยิงเพียงคนเดียว

อุปกรณ์และอาวุธของโบเคนซิลเวอร์

[แก้]
โกโกเชนเจอร์ (ゴーゴーチェンジャー)
อุปกรณ์แปลงร่างรูปแบบนาฬิกาข้อมือของโบเคนซิลเวอร์
ซาก้าสไนเปอร์ (サガスナイパー)
อาวุธประเภทปืนพกของโบเคนซิลเวอร์ สามารถเปลี่ยนได้ 3 รูปแบบ คือ ซาก้าโหมด โหมดเครื่องค้นหาโลหะ ใช้ในการค้นหาพรีเซียสเป็นหลัก, สไนเปอร์โหมด โหมดปืนพก และ ซาก้าสเปียร์โหมด โหมดหอก

โกโกวีเคิล

[แก้]

โกโกวีเคิล คือ ยานพาหนะจักรกลหนักขนาดยักษ์ของโบเคนเจอร์ โดยปกติแล้วจะเก็บไว้ในโรงเก็บโบเคนปาร์คกิ้งซึ่งอยู่ลึกลงไปในชั้นใต้ดินของซาเจสมิวเซียม และได้รับการดูแล, ปรับแต่ง และซ่อมแซมโดยมาคิโนะ ซึ่งเป็นช่างเครื่องของซาเจส อย่างไรก็ตาม โกโกวีเคิล No.1 - No.10 ยังพบประสบปัญหาคือการเผชิญกับกอร์ดอมเอนจิน ทำให้ไม่สามารถแสดงกำลังได้เต็มที่ แต่ปัญหานี้ได้รับการแก้ไขด้วยการเปลี่ยนเอนจินเป็นนีโอพาราเรลเอนจิน

No.1 - No.5

[แก้]

โกโกวีเคิลที่ประกอบรวมกันเป็นโกโกเทรลเลอร์และไดโบเคน แต่ละเครื่องเป็นเอกสิทธิ์สำหรับสมาชิกของแต่ละคนและไม่สามารถควบคุมโกโกวีเคิลของสมาชิกคนอื่นได้โดยตรง อย่างไรก็ตาม แม้ว่าประกอบรวมร่างเป็น อัลติเมทไดโบเคน ซิลเวอร์เป็นคนขับแทนแบล็ค

โกโกดัมป์ (ゴーゴーダンプ)
โกโกวีเคิลหมายเลข 1 ตัวเครื่องสีแดง เป็นโกโกวีเคิลประจำตัวของโบเคนเรด
ยานพาหนะประเภทรถขนดิน เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นส่วนลำตัวและขาของไดโบเคน
รหัสในการใช้กับแอ็คเซลเลอร์คือ "1"
โกโกฟอร์มูล่า (ゴーゴーフォーミュラ)
โกโกวีเคิลหมายเลข 2 ตัวเครื่องสีดำ เป็นโกโกวีเคิลประจำตัวของโบเคนแบล็ค
ยานพาหนะประเภทรถแข่งฟอร์มูลาวัน เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นส่วนหน้าอกของไดโบเคน
รหัสในการใช้กับแอ็คเซลเลอร์คือ "2"
โกโกไจโร (ゴーゴージャイロ)
โกโกวีเคิลหมายเลข 3 ตัวเครื่องสีน้ำเงิน เป็นโกโกวีเคิลประจำตัวของโบเคนบลู
ยานพาหนะประเภทออโต้ไจโร เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นส่วนหลังของไดโบเคน และ กระโปรงของอัลติเมทไดโบเคน
รหัสในการใช้กับแอ็คเซลเลอร์คือ "3"
โกโกโดเซอร์ (ゴーゴードーザー)
โกโกวีเคิลหมายเลข 4 ตัวเครื่องสีเหลือง เป็นโกโกวีเคิลประจำตัวของโบเคนเยลโล่
ยานพาหนะประเภทรถแทรกเตอร์ เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นแขนขวาของไดโบเคน และสนับขาขวาของซูเปอร์ / อัลติเมทไดโบเคน
รหัสในการใช้กับแอ็คเซลเลอร์คือ "4"
โกโกมารีน (ゴーゴーマリン)
โกโกวีเคิลหมายเลข 5 ตัวเครื่องสีขาวและสีชมพู เป็นโกโกวีเคิลประจำตัวของโบเคนพิงค์
ยานพาหนะประเภทเรือดำน้ำ เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นแขนซ้ายของไดโบเคน และสนับขาซ้ายของซูเปอร์ / อัลติเมทไดโบเคน
รหัสในการใช้กับแอ็คเซลเลอร์คือ "5"
โกโกเทรลเลอร์ (ゴーゴートレーラー)
ยานพาหนะประเภทรถพ่วง เป็นการรวมกันของโกโกวีเคิลหมายเลข 1 ถึง 5 ในรูปแบบ เทรลเลอร์ฟอร์เมชั่น

No.6 - No.10

[แก้]

โกโกวีเคิลที่ถูกสร้างและพัฒนาหลังจากโกโกวีเคิลข้างต้น (ยกเว้นโกโกเจ็ทที่ได้รับการพัฒนาช้ากว่ายานพาหนะทั้ง 4 ลำ) ยานพาหนะทุกคันมีพาราเรลเอนจินขั้นสูงติดไว้อยู่ด้วย แต่ว่ามีผลข้างเคียงในการใช้ จนทำให้เกิดพลังแม่เหล็กไฟฟ้าจำนวนมาก จนชุดแปลงร่างเสียหาย ทำให้สมาชิกโบเคนเจอร์ต้องฝึกฝนอย่างมากเพื่อที่จะใช้ยานพาหนะพวกนี้ ทั้งนี้โกโกวีเคิลหมายเลข 6 ถึง 10 สามารถประกอบร่างเป็นไดัทันเคนได้ ต่อมาถูกแทนที่ด้วยนีโอพาราเรลเอนจินเพื่อป้องกันการรบกวนจากพลังของกอร์ดอมเอนจิน

โกโกดริล (ゴーゴードリル)
โกโกวีเคิลหมายเลข 6 ยานพาหนะประเภทรถสว่าน ตัวเครื่องสีส้ม ผู้ที่ขับคือโบเคนเยลโล่ มีพลังการโจมตีสูงแต่เดิมเป็นโกโกวีเคิลที่ไม่สมบูรณ์ ทำให้มีผลข้างเคียงในการใช้ จนทำให้กลายเป็นวีเคิลต้องห้าม แต่ภายหลังได้รับการดัดแปลงและแก้ไขให้สามารถใช้การได้ เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นแขนขวาของหุ่นไดโบเคน, ไดทันเคน, ไซเรนบิลเดอร์, ไดวอยเจอร์
รหัสในการใช้กับแอ็คเซลเลอร์คือ "6"
โกโกโชเวล (ゴーゴーショベル)
โกโกวีเคิลหมายเลข 7 ยานพาหนะประเภทรถขุดตักดิน ตัวเครื่องสีฟ้า ผู้ที่ขับคือโบเคนพิงค์ มีพลังการโจมตีและป้องกันสูง เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นแขนซ้ายของหุ่นไดโบเคน, ไดทันเคน, ไซเรนบิลเดอร์, ไดวอยเจอร์
รหัสในการใช้กับแอ็คเซลเลอร์คือ "7"
โกโกมิกเซอร์ (ゴーゴーミキサー)
โกโกวีเคิลหมายเลข 8 ยานพาหนะประเภทรถผสมปูน ตัวเครื่องสีเขียว ผู้ที่ขับคือโบเคนบลู มีพลังการแช่ศัตรูด้วยคอนกรีต เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นแขนซ้ายของหุ่นไดโบเคน, ไดทันเคน, ไซเรนบิลเดอร์, ไดวอยเจอร์ และขาขวาของซูเปอร์ / อัลติเมทไดโบเคน และ ไดทันเคน
รหัสในการใช้กับแอ็คเซลเลอร์คือ "8"
โกโกเครน (ゴーゴークレーン)
โกโกวีเคิลหมายเลข 9 ยานพาหนะประเภทรถเครนปั่นจั่น ตัวเครื่องสีม่วง ผู้ที่ขับคือโบเคนแบล็ค มีพลังในการยกศัตรูที่มีน้ำหนักมาก เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นเป็นแขนซ้ายของหุ่นไดโบเคน, ไดทันเคน, ไซเรนบิลเดอร์, ไดวอยเจอร์ และขาซ้ายของซูเปอร์ / อัลติเมทไดโบเคน และ ไดทันเคน
รหัสในการใช้กับแอ็คเซลเลอร์คือ "9"
โกโกเจ็ท (ゴーゴージェット)
โกโกวีเคิลหมายเลข 10 ยานพาหนะประเภทเครื่องบินความเร็วสูง ตัวเครื่องสีแดง ผู้ที่ขับคือโบเคนเรด มีความเร็วในการบินที่สูง โจมตีด้วย อัลติเมทมิซไซล์ จากส่วนปีก เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นเป็นปีกของอัลติเมทไดโบเคนและส่วนลำตัวของไดทันเคน
รหัสในการใช้กับแอ็คเซลเลอร์คือ "10"

No.11 - No.13

[แก้]

โกโกวีเคิลที่ประกอบร่างเป็นไซเรนบิลเดอร์ เป็นโกโกวีเคิลที่ได้รับการพัฒนาโดยซาเจสแผนกกู้ภัย สร้างขึ้นมาเพื่อสำหรับต่อภัยพิบัติและอาชญากรรมรุนแรง ทั้งนี้เป็นโกโกวีเคิลที่ได้รับติดตั้งนีโอพาราเรลเอนจินตั้งแต่ต้น นอกจากนี้ โกโกเอเดอร์ และ โกโกโปลิส สามารถขับเคลื่อนได้อัตโนมัติและรับคำสั่งจากโบเคนซิลเวอร์โดยมากมักทำงานควบคู่กัน ส่วนโกโกไฟเยอร์มีผู้ขับคือโบเคนซิลเวอร์

โกโกไฟเยอร์ (ゴーゴーファイヤー)
โกโกวีเคิลหมายเลข 11 ยานพาหนะประเภทรถดับเพลิง ตัวเครื่องสีแดง เป็นโกโกวีเคิลประจำตัวของโบเคนซิลเวอร์ ทำหน้าที่ในการดับเพลิงและการโจมตีเป็นหลัก โดยปืนดับเพลิง 2 กระบอกรียกว่า โพรเจ็ทแคนนอน สามารถยิงกระสุนน้ำสองครั้งที่ยิงน้ำได้มากถึง 2,000 ลิตรต่อวินาทีด้วย ดับเบิ้ลวอเตอร์ชู้ต เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นส่วนลำตัวของไซเรนบิลเดอร์
โกโกเอเดอร์ (ゴーゴーエイダー)
โกโกวีเคิลหมายเลข 12 ยานพาหนะประเภทรถพยาบาล ตัวเครื่องสีขาว เนื่องจากล้อหน้าเป็นรถ 6 ล้อ 4 ล้อ จึงมีเสถียรภาพเวลาวิ่งดีเยี่ยมและมีโครงสร้างที่พึงประสงค์เป็นพาหนะขนส่งผู้บาดเจ็บ เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นส่วนแขนขวาของไซเรนบิลเดอร์
โกโกโปลิส (ゴーゴーポリス)
โกโกวีเคิลหมายเลข 13 ยานพาหนะประเภทรถตำรวจลาดตระเวณ ตัวเครื่องสีขาวและสีดำ ตัวเครื่องมีปืนกล 4 กระบอกที่ติดตั้งด้านหน้ารถและลำแสงแฟลชที่ทำให้เป็นพร่ามัวเป็นอาวุธ อีกทั้งยังมีเครื่องส่งสัญญาณขนาดเล็ก ฟังก์ชั่น GPS และระบบนำทางใหม่ล่าสุด เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นแขนซ้ายของไซเรนบิลเดอร์

No.14 - No.18

[แก้]

โกโกวีเคิลที่ประกอบร่างเป็นไดวอยเจอร์และโกโกวอยเจอร์ เป็นโกโกวีเคิลรุ่นใหม่ทั้ง 5 คันถูกสร้างขึ้นมาเพื่อรบทางอากาศ ทั้งนี้ตัวเครื่องทั้งหมดเป็นสีกรมท่าและสีเงิน แต่ว่ายังมีสีประจำตัวของผู้ใช้อยู่ด้วย

โกโกคอมมานเดอร์ (ゴーゴーコマンダー)
โกโกวีเคิลหมายเลข 14 ยานพาหนะประเภทเครื่องบินควบคุมการแจ้งเตือนล่วงหน้า ผู้ที่ขับคือโบเคนเรด เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นส่วนหัวของไดวอยเจอร์ รวมทั้งเป็นหอบังคับการของโกโกวอยเจอร์
โกโกแคริเออร์ (ゴーゴーキャリアー)
โกโกวีเคิลหมายเลข 15 ยานพาหนะประเภทเรือขนส่งสินค้า ผู้ที่ขับคือโบเคนแบล็ค เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นส่วนลำตัวและขาของไดวอยเจอร์ ส่วนสะพานเดินเรือของโกโกวอยเจอร์
โกโกไฟเตอร์ (ゴーゴーファイター)
โกโกวีเคิลหมายเลข 16 ยานพาหนะประเภทเครื่องบินขับไล่ ผู้ที่ขับคือโบเคนบลู เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นส่วนปีกทั้ง 2 ข้างของไดวอยเจอร์ รวมทั้งเป็นส่วนหัวเรือด้านบนของโกโกวอยเจอร์
โกโกแอ็คแท็คเกอร์ (ゴーゴーアタッカー)
โกโกวีเคิลหมายเลข 17 ยานพาหนะประเภทเครื่องบินทิ้งระเบิด ผู้ที่ขับคือโบเคนเยลโล่ เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นส่วนลำตัวด้านหน้าและกระโปรงของไดวอยเจอร์ รวมทั้งเป็นส่วนบนของโกโกวอยเจอร์
โกโกโรดเดอร์ (ゴーゴーローダー)
โกโกวีเคิลหมายเลข 18 ยานพาหนะประเภทรถบดถนน ผู้ที่ขับคือโบเคนพิงค์ เมื่อทำการประกอบร่างแปลงเป็นแขนทั้ง 2 ข้างของไดวอยเจอร์ รวมทั้งเป็นส่วนหัวเรือด้านล่างของโกโกวอยเจอร์
โกโกวอยเจอร์ (ゴーゴーボイジャー)
โกโกวีเคิลที่รวมร่างโกโกวิเคิล No.14 ถึง No.18 ยานพาหนะประเภทเรือรบประจัญบาน สามารถโจมตีได้ทั้งทางบกและทางน้ำ ในภายหลังได้ดัดแปลงให้สามารถเดินทางสู่อวกาศได้

ข้อมูลจำเพาะของโกโกวีเคิล

[แก้]
ชื่อ หมายเลข ความสูง ความกว้าง ความยาว น้ำหนัก ความเร็ว แรงกำลัง
โกโกดัมป์ 1 15.1 เมตร 24.6 เมตร 30.3 เมตร[13][14] 2,100 ตัน[13][14] 380 กม. / ชม.[13][14] 8 ล้านแรงม้า[13][14]
โกโกฟอร์มูล่า 2 8.9 เมตร 11.3 เมตร 19.7 เมตร[13][14] 350 ตัน[13][14] 500 กม. / ชม.[13][14] 1 ล้านแรงม้า[13][14]
โกโกไจโร 3 6.8 เมตร 21.2 เมตร 12.4 เมตร[13][14] 290 ตัน[13][14] มัค 3[13][14]
โกโกโดเซอร์ 4 9.2 เมตร 5.9 เมตร 13.8 เมตร[13][14] 130 ตัน[13][14] 350 กม. / ชม.[13][14] 1.3 ล้านแรงม้า[13][14]
โกโกมารีน 5 7.8 เมตร 5.7 เมตร 22 เมตร[13][14] 150 น็อต[13][14] 7 แสนแรงม้า[13][14]
โกโกดริล 6 9.5 เมตร 11.4 เมตร 31 เมตร[13][14] 650 ตัน[13][14]
  • 360 กม. / ชม. (บนพื้นดิน)[13][14]
  • 300 กม. / ชม. (ในพื้นดิน)
3.5 ล้านแรงม้า[13][14]
โกโกโชเวล 7 13 เมตร 11.4 เมตร
  • 21.1 เมตร (แขนหดกลับ)[13][14]
  • 31.6 เมตร (กางแขนออก)
220 ตัน[13][14] 400 กม. / ชม.[13][14] 2.5 ล้านแรงม้า[13][14]
โกโกมิกเซอร์ 8 13 เมตร 12.2 เมตร 26.5 เมตร[13][14] 620 ตัน[13][14] 380 กม. / ชม.[13][14]
โกโกเครน 9 14.1 เมตร 11.4 เมตร 34.1 เมตร[13][14] 710 ตัน[13][14] 320 กม. / ชม.[13][14] 3.5 ล้านแรงม้า[13][14]
โกโกเจ็ท 10 17 เมตร 87.6 เมตร 47.2 เมตร[13][14] 2,000 ตัน[13][14] มัค 5[13][14] 10 ล้านแรงม้า[13][14]
โกโกไฟเยอร์ 11 22.1 เมตร 24.8 เมตร 45.5 เมตร[15][14] 3,000 ตัน[15][14] 380 กม. / ชม.[15][14] 10 ล้านแรงม้า[15][14]
โกโกเอเดอร์ 12 8 เมตร 8 เมตร 20.4 เมตร[15][14] 250 ตัน[15][14] 350 กม. / ชม.[15][14] 1 ล้านแรงม้า[15][14]
โกโกโปลิส 13 7.8 เมตร 8.6 เมตร 20.8 เมตร[15][14] 400 กม. / ชม.[15][14]
โกโกคอมมานเดอร์ 14 9.1 เมตร 22.9 เมตร 21.8 เมตร[16][14] 420 ตัน[16][14] มัค 4[16][14] 2.7 ล้านแรงม้า[16][14]
โกโกแคริเออร์ 15 22.2 เมตร 28 เมตร 57.8 เมตร[16][14] 5,700 ตัน[16][14] 300 กม. / ชม.[16][14] 24 ล้านแรงม้า[16][14]
โกโกไฟเตอร์ 16 8.2 เมตร 23.3 เมตร 25.6 เมตร[16][14] 430 ตัน[16][14] มัค 5[16][14] 2.8 ล้านแรงม้า[16][14]
โกโกแอ็คแท็คเกอร์ 17 10.8 เมตร 22 เมตร 25 เมตร[16][14] 450 ตัน[16][14] มัค 4.5[16][14] 3.2 ล้านแรงม้า[16][14]
โกโกโรดเดอร์ 18 13.1 เมตร 20.8 เมตร 28.6 เมตร[16][14] 1,500 ตัน[16][14] 400 กม. / ชม.[16][14] 7.3 ล้านแรงม้า[16][14]
โกโกเทรลเลอร์ 47.5 เมตร[16][14] 3,000 ตัน[16][14] 320 กม. / ชม.[16][14] 12 ล้านแรงม้า[16][14]
โกโกวอยเจอร์ 29.2 เมตร 18 เมตร 83.7 เมตร[16][17][14] 8,500 ตัน[16][17][14] 800 กม. / ชม.[16][14] 40 ล้านแรงม้า[16][14]

ซาเจสโรโบ

[แก้]

ไดโบเคน

[แก้]
ไดโบเคน (ダイボウケン)
หุ่นยนต์ที่เกิดจากการรวมร่างของ โกโกวีเคิล No.1 ถึง No.5 รหัสในการรวมร่างคือ โกโกกัตไต โบเคนฟอร์เมชัน
อาวุธ
โกสโคปเปอร์ (ゴースコッパー)
โกพิคเกอร์ (ゴーピッカー)
โกโกเคน (轟轟剣)
ท่าไม้ตาย
แอดเวนเจอร์ไดรฟ์ (アドベンチャードライブ)
ฟลายอิ้งแอดเวนเจอร์ไดรฟ์ (フライングアドベンチャードライブ)
โกโกบุโช (轟轟武装)
ไดโบเคนดริล (ダイボウケンドリル)
มีพลังในการโจมตีที่สูง สามารถโจมตีด้วยการแทงและเจาะศัตรู ในช่วงแรกมีปัญหาในการควบคุมเนื่องจากไม่ชินกับการใช้พาราเรล เอนจิน ทั้ง 2 เครื่องได้ ภายหลังได้รับการปรับปรุงให้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวกยิ่งขึ้น ท่าไม้ตายคือ แม็กซิมัมเพเนเทรชัน
ไดโบเคนโชเวล (ダイボウケンショベル)
มีพลังทั้งการโจมตีและตั้งรับที่ค่อนข้างสูง โดยพลังการโจมตีมีพลังรองลงมาจากดริล ส่วนพลังป้องกันอยู่ในระดับสูง โจมตีศัตรูด้วยการจับคู่ต่อสู้เหวี่ยงขึ้นฟ้าและการปล่อยหมัดฮุก ท่าไม้ตายคือ โชเวลนัคเคิล เป็นการใช้โชเวล ปล่อยหมัดฮุกตรงใส่ศัตรู
ไดโบเคนดริล & โชเวล (ダイボウケンドリル&ショベル)
ไดโบเคนมิกเซอร์ (ダイボウケンミキサー)
มีพลังในการสนับสนุนการโจมตีเป็นหลัก โดยการยิงซีเมนต์สะกัดกั้นการเคลื่อนไหวของศัตรูเป็นหลัก จึงทำให้มีพลังในการโจมตีไม่รุนแรงยิ่งนัก ท่าไม้ตายคือ วอลชูต
ไดโบเคนดริล & มิกเซอร์ (ダイボウケンドリル&ミキサー)
ท่าไม้ตายคือ ไบน์เบรก ท่าที่ใช้มิกเซอร์ ยิงซีเมนต์เพื่อหยุดการเคลื่อนไหวของศัตรู จากนั้นใช้ดริล ในการแทงศัตรู
ไดโบเคนเครน (ダイボウケンクレーン)
มีพลังในการสนับสนุนการโจมตีเช่นเดียวกับมิกเซอร์ โดยการยิงตะขอเพื่อรั้งศัตรูให้เคลื่อนไหวช้าลงเป็นหลัก จึงทำให้มีพลังในการโจมตีไม่รุนแรงยิ่งนัก ท่าไม้ตายคือ ไวเออร์ฮุคพันซ์
ไดโบเคนดริล & เครน (ダイボウケンドリル&クレーン)
ท่าไม้ตายคือ ลิฟท์อัพ สไตรค์ ท่าที่ใช้เครน จับศัตรูขึ้นเหนือตัวคล้ายกับการตกปลา จากนั้นใช้ดริลในการแทงศัตรู
ไดโบเคนโชเวล & เครน (ダイボウケンショベル&クレーン)
ไดโบเคนเอเดอร์ & โปลิส (ダイボウケンエイダー&ポリス)
ไดโบเคนบัสเตอร์โหมด (ダイボウケン バスターモード)
ไดโบเคนที่เพิ่มโกโกเจ็ทติดั้งไว้ที่ด้านหลังของหุ่น
ซูเปอร์ไดโบเคน (スーパーダイボウケン)
หุ่นยนต์ที่เกิดจากการรวมร่างของ ไดโบเคน และ โกโกวีเคิล No.6 ถึง No.9 จากพลังพาราเรลเอนจินที่ปล่อยลิมิตเตอร์ รหัสรวมร่างคือ โจโกโกกัตไท ซูเปอร์ฟอร์เมชัน เมื่อทำการรวมร่างพลังของพาราเรลเอนจินทั้ง 9 ได้รับเอาต์พุตของไดโบเคนถึงสองเท่า ท่าไม้ตายคือ ดับเบิ้ลอาร์มแครช ท่าที่รวบรวมพลังจากพาราเรลเอนจินทั้งหมดในร่างกาย ไว้ที่หน้าอก จากนั้น ทำการวิ่งเข้าหาศัตรูพร้อมกับใช้ โชเวลในการตะปบศัตรูให้เสียหลัก ส่วนดริลปล่อยหมัดสอยดาวใส่ศัตรู เป็นการปิดฉากการโจมตี
ท่าโจมตีอื่นๆ
แคนนอลบอลเฮด (キャノンボールヘッド)
วอลล์ชู้ต (ウォールシュート)
อัลติเมทไดโบเคน (アルティメットダイボウケン)
หุ่นยนต์ที่เกิดจากการรวมร่างของ ซูเปอร์ไดโบเคน และ โกโกเจ็ท รหัสรวมร่างคือ เคียวโคคุ โกโกกัตไต อัลติเมทฟอร์เมชัน เป็นหุ่นยนต์ที่รวมร่างเหนือกว่าซูเปอร์ไดโบเคนในทุกความสามารถและยังมีความสามารถในการบินอีกด้วย
ท่าไม้ตายคือ อัลติเมทบลาสเตอร์ ท่าที่บินขึ้นฟ้า แล้วรวบรวมพลังจากพาราเรลเอนจินทั้ง 10 ในตัวหุ่นไว้ที่หน้าอก และปล่อยลำแสงรูปนกฟินิกซ์ ใส่ยังศัตรู
ท่าโจมตีอื่นๆ
วาริเอเบิลไทฟูน (バリアブルタイフーン)
เป็นการปล่อยพลังลมออกจากกระโปรงของอัลติเมทไดโบเคน เพื่อสะกัดกั้นการโจมตีในระยะประชิดตัว
อัลติเมทบีม (アルティメットビーム)
อัลติเมทคิ๊ก (アルティメットキック)
อัลติเมทไดโบเคนเอเดอร์ & โปลิส (アルティメットダイボウケンエイダー&ポリス)
เกิดจากความคิดของซากุระ ที่สับเปลี่ยนแขนของอัลติเมท ไดโบเคน กับ ไซเรนบิลเดอร์ ในสถานการณ์คับขันเมื่ออัลติเมท ไดโบเคน ถูกจับมัดเหลือแต่เพียงส่วนแขนที่สามารถเคลื่อนไหวได้ จึงทำการแนะนำให้เปลี่ยนชิ้นส่วนข้ามหุ่น เป็นครั้งแรก
ในสารานุกรม 30 ขบวนการ สเปเชียลไฟล์ มีรูปแบบรวมร่าง 12 ชิ้นส่วน โดยโกโกเอเดอร์ และ โกโกโปลิส ติดตั้งตรงส่วนปีกของอัลติเมทไดโบเคน

ไดทันเคน

[แก้]
ไดทันเคน (ダイタンケン)
หุ่นยนต์ที่เกิดจากการรวมร่างของ โกโกวีเคิล No.6 ถึง No.10 รหัสในการรวมร่างคือ โกโกกัตไต โบเคนฟอร์เมชัน 2 เป็นหุ่นยนต์รูปแบบฉุกเฉินใช้ในกรณีที่ไดโบเคน ได้รับความเสียหายและไม่สามารถต่อสู้ได้ แต่ด้วยข้อมูลที่ยังไม่สมบูรณ์ของหุ่น ทำให้มีความเสี่ยงต่อการใช้พอสมควร
ท่าไม้ตายคือ บิ๊กเรดบอมเบอร์ ท่าที่ทำการยิงมิซไซล์ซึ่งเป็นส่วนหัวของหุ่นไปยังศัตรู และ โบเคนแฟลช ท่าที่ทำการโจมตีด้วยหมัดโชเวลและดริลพร้อมทั้งยิงลำแสงอันทรงพลังจากมิกเซอร์และเครน

ไซเรนบิลเดอร์

[แก้]
ไซเรนบิลเดอร์ (サイレンビルダー)
หุ่นยนต์ที่เกิดจากการรวมร่างของ โกโกวีเคิล No.11 ถึง No.13 เป็นการรวมร่าง 3 ลำ รหัสรวมร่างคือ คินคิวโกโกกัตไต ไซเรนฟอร์เมชัน เป็นหุ่นยนต์ของโบเคนซิลเวอร์
ท่าไม้ตายคือ ทริปเปิ้ลริกิตบอมบอร์ ท่าที่ทำการปล่อยสารเคมีดับเพลิงประเภทน้ำ พร้อมกัน 3 จุด
ท่าโจมตีอื่นๆ
ดับเบิ้ลวอเตอร์ชู้ต (ダブルウォーターシュート)
นัคเคิลวัลแคน (ナックルバルカン)
โกโกบุโช (轟轟武装)
ไซเรนบิลเดอร์ดริล & โชเวล (サイレンビルダードリル&ショベル)
ไซเรนบิลเดอร์ดริล & มิกเซอร์ (サイレンビルダードリル&ミキサー)
ไซเรนบิลเดอร์โดเซอร์ & มารีน (サイレンビルダードーザー&マリン)
ไซเรนบิลเดอร์เครน (サイレンビルダークレーン)

ไดวอยเจอร์

[แก้]
ไดวอยเจอร์ (ダイボイジャー)
หุ่นยนต์ที่เกิดจากการรวมร่างของ โกโกวีเคิล No.14 ถึง No.18 รหัสรวมร่างคือ โจเซ็ทสึโกโกกัตไต วอยเจอร์ฟอร์เมชัน มีพลังและความเร็ว ที่เหนือกว่าอัลติเมทไดโบเคน แรกเริ่มได้มีการวางแผนให้ ไดวอยเจอร์ เป็นหุ่นยนต์ตัวแรกในการปฏิบัติการณ์ แต่ด้วยข้อมูลและความพร้อม ปัจจัยที่ยังไม่สมบูรณ์เพียงพอ จึงทำให้ไดโบเคน เป็นหุ่นยนต์ตัวแรกที่ใช้ในการปฏิบัติการณ์แทน
ท่าไม้ตายคือ แอดเวนเจอร์ดับเบิลสครูว์
ไดวอยเจอร์ดริล & โชเวล (ダイボイジャードリル&ショベル)
วอยเจอร์ไดโบเคน (ボイジャーダイボウケン)
เบิร์นนิ่งเลเจนด์ไดวอยเจอร์ (バーニングレジェンドダイボイジャー)

ข้อมูลจำเพาะของซาเจสโรโบ

[แก้]
ชื่อ ส่วนสูง ความกว้าง ความหนา น้ำหนัก ความเร็ว แรงกำลัง
ไดโบเคน 47 เมตร[18] 35.7 เมตร[19] 21.9 เมตร[19] 3,000 ตัน[18] 300 กม. / ชม.[20][19] 12 ล้านแรงม้า[20][19]
ไดโบเคนดริล 39 เมตร[19] 3,650 ตัน[19] 15.5 ล้านแรงม้า[19]
ไดโบเคนโชเวล 41.9 เมตร[19] 3,220 ตัน[19] 14.5 ล้านแรงม้า[19]
ไดโบเคนดริล & โชเวล 45.5 เมตร[19] 3,870 ตัน[19] 18 ล้านแรงม้า[19]
ไดโบเคนมิกเซอร์ 42.8 เมตร[19] 3,620 ตัน[19] 14.5 ล้านแรงม้า[19]
ไดโบเคนดริล & มิกเซอร์ 45.4 เมตร[19] 4,270 ตัน[19] 18 ล้านแรงม้า[19]
ไดโบเคนเครน 42.8 เมตร[19] 3,710 ตัน[19] 15.5 ล้านแรงม้า[19]
ไดโบเคนดริล & เครน 45.4 เมตร[19] 4,360 ตัน[19] 19 ล้านแรงม้า[19]
ซูเปอร์ไดโบเคน 52 เมตร[21] 45.4 m[19] 23.7 เมตร[19] 5,200 ตัน[21] 500 กม. / ชม.[20][19] 24 ล้านแรงม้า[20][19]
ไดทันเคน 49.8 เมตร[22] 4,200 ตัน[22] 500 กม. / ชม.[23][19] 22 ล้านแรงม้า[23][19]
อัลติเมทไดโบเคน 52 เมตร[21] 28.6 เมตร[19] 7,200 ตัน[21]
  • 700 กม. / ชม. (กำลังวิ่ง)[20][19]
  • มัค 3.5 (การบิน)[20][19]
34 ล้านแรงม้า[20][19]
ไซเรนบิลเดอร์ 50 เมตร[15][24][19] 39 เมตร[19] 21.5 เมตร[19] 3,500 ตัน[25] 400 กม. / ชม.[15][19] 12 ล้านแรงม้า[15][19]
ไดวอยเจอร์ 65.5 เมตร[26] 62 เมตร[19] 22.5 เมตร[19] 8,500 ตัน[26] 750 กม. / ชม.[16][19] 40 ล้านแรงม้า[16][19]
เบิร์นนิ่งเลเจนด์ไดวอยเจอร์ 71 เมตร[19] 9,200 ตัน[19] 800 กม. / ชม.[19] 60 ล้านแรงม้า[19]

ข้อมูลอื่นๆ

[แก้]

เพลงประกอบ

[แก้]

เพลงเปิด-ปิด

[แก้]
Gogo Sentai Boukenger (ญี่ปุ่น: 轟轟戦隊ボウケンジャーโรมาจิโกโก เซนไท โบเคนเจอร์) ร้องโดย NoB (โนบุโอะ ยามาดะ)
Boukensha ON THE ROAD (ญี่ปุ่น: 冒険者 ON THE ROADโรมาจิโบเคนฉะ ON THE ROAD) ร้องโดย ไซคิก เลิฟเวอร์
Densetsu ร้องโดย ทาคายูกิ มิยาอุจิ, อากิระ คุชิดะ, MoJo (เพลงปิดของโบเคนเจอร์ ปะทะ ชูเปอร์เซนไท)

เพลงประกอบในเรื่อง

[แก้]
Boukenger GO ON FIGHTING ร้องโดย NoB
เป็นเพลงประกอบการต่อสู้ของโบเคนเจอร์
S.G.S ~Iza Susume SGS~ ร้องโดย SGS Choir
เพลงประจำตัวของซาเจส
GO! GO! GO! GO! Negative Syndicate ร้องโดย เคนซาคุ ไซโต้
เพลงประจำตัวของเนกาทีฟ ซินดิเคด
Bouken Punch ร้องโดย มิตสึโกะ โฮริเอะ
Start Up! ~kizuna~ ร้องโดย NoB

เพลงตัวละครของโบเคนเจอร์

[แก้]
Saikou no Precious
Black Drive
BLUE For you
Himitsu no takaramono
Sakura
Mabayuki Senkou! Boukensilver ร้องโดย ฮิเดอากิ ทาคาโทริ
Gin'iro no Kaze ni Fukarete

เพลงประจำตัวหุ่นโบเคน

[แก้]
Gogo Vehicle Daikoushin! ร้องโดย อิวาซากิ ทาคาฟูมิ
เพลงประกอบของโกโก วีเคิ่ล
Gogo Gattai Daibouken ร้องโดย ทาคายูกิ มิยาอุจิ
เพลงประจำตัวหุ่นไดโบเคน ถูกใช้ครั้งแรกในตอนที่1
FLY OUT! ULTIMATE DAIBOUKEN ร้องโดย อากิระ คุชิดะ
เพลงประจำตัวหุ่นอัลติเมทไดโบเคน ถูกใช้ครั้งแรกในตอนที่16
Kibou no Siren Builder ร้องโดย MoJo
เพลงประจำตัวหุ่นของไซเรนบิลเดอร์
NEVER ENDING VOYAGE ร้องโดย อิจิโร่ มิซึกิ
เพลงประจำตัวหุ่นไดวอยเจอร์

รายชื่อตอน

[แก้]
ตอนที่
(Task)
ชื่อตอน ญี่ปุ่น ออกอากาศครั้งแรก ไทย ออกอากาศ
ททบ.5 ทรูสปาร์ก
Task. 1 "หัวใจแห่งจอมมาร"
(魔神の心臓) 
19 กุมภาพันธ์ 200611 ตุลาคม 200814 สิงหาคม 2008
Task. 2 "ผู้แย่งชิงจากเผ่ามังกร"
(竜の略奪者) 
26 กุมภาพันธ์ 200618 ตุลาคม 200815 สิงหาคม 2008
Task. 3 "ดาบผู้มีชัย"
(覇者の剣) 
5 มีนาคม 200625 ตุลาคม 200818 สิงหาคม 2008
Task. 4 "วีเคิลที่สาปสูญ"
(失われたビークル) 
12 มีนาคม 20061 พฤศจิกายน 200819 สิงหาคม 2008
Task. 5 "ไข่มุกแห่งจักรวรรดิ์"
(帝国の真珠) 
19 มีนาคม 20068 พฤศจิกายน 200820 สิงหาคม 2008
Task. 6 "หมอกแห่งคำสาป"
(呪いの霧) 
26 มีนาคม 200615 พฤศจิกายน 200821 สิงหาคม 2008
Task. 7 "เกล็ดแห่งซาลามันเดอร์"
(火竜のウロコ) 
2 เมษายน 200622 พฤศจิกายน 200822 สิงหาคม 2008
Task. 8 "สมบัติแห่งแอตแลนติส"
(アトランティスの秘宝) 
9 เมษายน 200629 พฤศจิกายน 200825 สิงหาคม 2008
Task. 9 "นินจาแห่งนกกระดาษ"
(折鶴の忍者) 
16 เมษายน 20066 ธันวาคม 200826 สิงหาคม 2008
Task. 10 "โบเคนเรดหายสาปสูญ"
(消えたボウケンレッド) 
23 เมษายน 200613 ธันวาคม 200827 สิงหาคม 2008
Task. 11 "ปะทะบนเกาะเดี่ยว"
(孤島の決戦) 
30 เมษายน 200620 ธันวาคม 200828 สิงหาคม 2008
Task. 12 "ขลุ่ยแห่งฮาร์เมลลิน"
(ハーメルンの笛) 
7 พฤษภาคม 200627 ธันวาคม 200829 สิงหาคม 2008
Task. 13 "สมบัติของเจ้าหญิงคางุยะ"
(かぐや姫の宝) 
14 พฤษภาคม 20063 มกราคม 20091 กันยายน 2008
Task. 14 "อดีตที่ฟื้นคืน"
(甦る過去) 
21 พฤษภาคม 200610 มกราคม 20092 กันยายน 2008
Task. 15 "เมืองแห่งวารี"
(水の都) 
28 พฤษภาคม 200617 มกราคม 20093 กันยายน 2008
Task. 16 "คริสตัลแห่งวารี"
(水のクリスタル) 
4 มิถุนายน 200624 มกราคม 20094 กันยายน 2008
Task. 17 "คันฉ่องแห่งอาชู"
(アシュの鏡) 
11 มิถุนายน 200631 มกราคม 20095 กันยายน 2008
Task. 18 "ชายหนุ่มที่ยังมีชีวิตอยู่"
(生きていた男) 
25 มิถุนายน 20067 กุมภาพันธ์ 20098 กันยายน 2008
Task. 19 "นักผจญภัยผู้เจิดจรัส"
(眩き冒険者) 
9 กรกฎาคม 200614 กุมภาพันธ์ 20099 กันยายน 2008
Task. 20 "หุ่นยักษ์ตัวใหม่"
(新たなる巨人) 
16 กรกฎาคม 200621 กุมภาพันธ์ 200910 กันยายน 2008
Task. 21 "ค้อนเล็กอุจิเดะ"
(打出の小槌) 
23 กรกฎาคม 200628 กุมภาพันธ์ 200911 กันยายน 2008
Task. 22 "ธรรมรงค์แห่งโซโลมอน"
(ソロモンの指輪) 
30 กรกฎาคม 20067 มีนาคม 200912 กันยายน 2008
Task. 23 "คู่หูตัวอันตราย"
(あぶない相棒) 
6 สิงหาคม 200614 มีนาคม 200915 กันยายน 2008
Task. 24 "กลองแห่งปีใหม่"
(初音の鼓) 
13 สิงหาคม 200621 มีนาคม 200916 กันยายน 2008
Task. 25 "ผลไม้ต้องห้าม"
(禁断の果実) 
20 สิงหาคม 200628 มีนาคม 200917 กันยายน 2008
Task. 26 "รองเท้าแก้ว"
(ガラスの靴) 
27 สิงหาคม 20064 เมษายน 200918 กันยายน 2008
Task. 27 "กับดักทำนายฮวงจุ้ย"
(風水占いの罠) 
3 กันยายน 200611 เมษายน 200919 กันยายน 2008
Task. 28 "ชุดเกราะแห่งตำนาน"
(伝説の鎧) 
10 กันยายน 200618 เมษายน 200922 กันยายน 2008
Task. 29 "ดาบทองคำ"
(黄金の剣) 
17 กันยายน 200625 เมษายน 200923 กันยายน 2008
Task. 30 "ปิศาจทองแห่งความโกรธา"
(怒りの黄金魔人) 
24 กันยายน 20062 พฤษภาคม 200924 กันยายน 2008
Task. 31 "เปลวเพลิงแห่งเมืองร้าง"
(亡国の炎) 
1 ตุลาคม 20069 พฤษภาคม 200925 กันยายน 2008
Task. 32 "ความลับของนักเรียนผจญภัย"
(ボウケン学校の秘密) 
8 ตุลาคม 200616 พฤษภาคม 200926 กันยายน 2008
Task. 33 "ตะวันแห่งเรมูเลีย"
(レムリアの太陽) 
15 ตุลาคม 200623 พฤษภาคม 200929 กันยายน 2008
Task. 34 "ความทรงจำที่ยาวนาน"
(遼かなる記憶) 
22 ตุลาคม 200630 พฤษภาคม 200930 กันยายน 2008
Task. 35 "ศีรษะของพระเจ้า"
(神の頭) 
29 ตุลาคม 20066 มิถุนายน 20091 ตุลาคม 2008
Task. 36 "กระบองเหล็กของอสูร"
(鬼の金棒) 
5 พฤศจิกายน 200613 มิถุนายน 20092 ตุลาคม 2008
Task. 37 "กลุ่มนักแสดงที่นิยม"
(憧れの芸能界) 
12 พฤศจิกายน 200620 มิถุนายน 20093 ตุลาคม 2008
Task. 38 "ชุดแห่งสายรุ้ง"
(虹の反物) 
19 พฤศจิกายน 200627 มิถุนายน 20096 ตุลาคม 2008
Task. 39 "หินแห่งโปรเมทิวส์"
(プロメテウスの石) 
26 พฤศจิกายน 20064 กรกฎาคม 20097 ตุลาคม 2008
Task. 40 "อาชูแห่งตะวันตก"
(西のアシュ) 
3 ธันวาคม 200611 กรกฎาคม 20098 ตุลาคม 2008
Task. 41 "จอกแห่งเมอร์คิวเรียส"
(メルクリウスの器) 
10 ธันวาคม 200618 กรกฎาคม 20099 ตุลาคม 2008
Task. 42 "ยุคสมัยแห่งเควสเตอร์"
(クエスターの時代) 
17 ธันวาคม 200625 กรกฎาคม 200910 ตุลาคม 2008
Task. 43 "ของขวัญอันตราย (Christmas Present)"
(危険な贈物(クリスマスプレゼント)) 
24 ธันวาคม 20061 สิงหาคม 200913 ตุลาคม 2008
Task. 44 "ออนเซนแห่งฤษี"
(仙人の温泉) 
7 มกราคม 20078 สิงหาคม 200914 ตุลาคม 2008
Task. 45 "จาคุริวที่ชั่วร้ายสุดๆ"
(最凶の邪悪竜) 
14 มกราคม 200715 สิงหาคม 200915 ตุลาคม 2008
Task. 46 "ความมืดที่ตื่นขึ้นมา"
(目覚めた闇) 
21 มกราคม 200722 สิงหาคม 200916 ตุลาคม 2008
Task. 47 "กล่องแห่งความสิ้นหวัง"
(絶望の函) 
28 มกราคม 200729 สิงหาคม 200917 ตุลาคม 2008
Task. 48 "จ้าวนักบวชที่น่าสะพรึง"
(恐怖なる大神官) 
4 กุมภาพันธ์ 20075 กันยายน 200920 ตุลาคม 2008
Last Task "จิตวิญญาณแห่งการผจญภัยไม่มีที่สิ้นสุด"
(果て無き冒険魂) 
11 กุมภาพันธ์ 200712 กันยายน 200921 ตุลาคม 2008

การออกอากาศ

[แก้]

ออกอากาศทุกเช้าวันอาทิตย์ เวลา 7:30 น. - 8:30 น. ทางสถานีโทรทัศน์ทีวีอาซาฮี ในประเทศญี่ปุ่น

ในประเทศไทย ลิขสิทธิ์ในการจัดจำหน่ายและการออกอากาศโดยโรส มีเดียแอนด์เอนเตอร์เทนเมนต์ โดยใช้ชื่อว่า "ขบวนการนักผจญภัย โบเคนเจอร์" ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 ในรายการแก๊งการ์ตูน ทุกเช้าวันเสาร์ เวลา 7.15 - 7.30 น. เริ่มฉายในวันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2551 และในปี พ.ศ. 2552 ได้เปลี่ยนเวลาออกอากาศเป็น 7.30 - 8.00 น. และถูกเปลี่ยนรายการ ช่อง 5 การ์ตูน ของบริษัท ตูนทาวน์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด แต่ยังใช้เสียงพากย์ของโรสเหมือนเดิม และฉายในช่อง ทรู สปาร์ค ทางทรู วิชั่นส์ ทุกวันจันทร์ถึงวันศุกร์ เวลา 19.30 - 20.00 น. ออกอากาศเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2551 ถึงวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2551

30th ANNIVERSARY (สารานุกรม 30 ขบวนการ)

[แก้]

เป็นช่วงพิเศษที่เกี่ยวกับเรื่องราวของ 30 ขบวนการเริ่มใช้จริงใน Task.3 ในช่วงท้ายเพลงปิดของเรื่อง กำกับและผู้วางเนื้อหาโดย ทาเคโมโตะ โนโบรุ

โดยทั่วไปจะใช้ฟุตเตจภาพของทีวีซีรีส์ แต่บางครั้งใช้ฟุตเตจของภาพยนตร์และวีซินีม่า นอกจากนี้ภาพของแต่ละขบวนการกลับถูกมาใช้ในรูปแบบเดิมซึ่งถูกลงในภาพทีวีดิจิตอลคมชัดสูง และภาพตัดจาก 4:3 เป็น 16:9 สำหรับภาพทีวี

ทั้งนี้ช่วงพิเศษปรากฏแค่ในทีวีที่ออกอากาศเท่านั้น ไม่มีการลงซ้ำในสื่ออื่นทั้ง DVD, ช่องเคเบิลทีวีโตเอะแชนแนล และ แชนแนลยูทูบโตเอะโทคุซัทสึ

สารานุกรม 30 ขบวนการ

[แก้]

อยู่ในช่วง Task.4 ถึง Task.33 ตั้งแต่ ขบวนการห้าจอมพิฆาต โกเรนเจอร์ จนถึงโบเคนเจอร์โดยจะเล่าซีรีส์ทีละ 1 ตอนซึ่งจะใช้เพลงประกอบของเรื่องแต่ละเรื่องมาใช้ตามหัวข้อนั้น ในท้ายตอนจะมีมุขตลกล้อเลียนจากขบวนการที่ถูกกล่าวถึงมีบางตอนที่นำพร็อบของขบวนการต่างๆ มาปรากฏในเรื่อง และบางตอนสมาชิกใส่ชุดยูนิฟอร์มของขบวนการที่ถูกเสนอ

ใน Task.1 ถึง Task.19 ใช้ห้องขับไดโบเคนเป็นสถานที่หลัก แต่ใน Task.20 เป็นต้นไปได้เปลี่ยนเป็นฐานทัพ ซาเจสลอน แทน

สารานุกรม 30 ขบวนการ สเปเชียลไฟล์

[แก้]

ใช้ตั้งแต่ Task.34 เป็นต้นไป เป็นช่วงเกี่ยวกับ ครั้งแรกของสถิติต่างๆ ของ 30 ขบวนการ ซึ่งจะถูกเรียกว่า สารานุกรม 30 ขบวนการ สเปเชียลไฟล์ ซึ่งแต่ละตอนจะมีหัวข้อที่เกี่ยวกับครั้งแรกของขบวนการแต่ละขบวนการว่ามีอะไรใหม่ๆ ได้แก่ ต้นกำเนิดขบวนการ, หุ่นยนต์ยักษ์, หุ่นยนต์ประกอบร่าง, หุ่นยนต์ตัวที่ 2, นักสู้เสริม, หุ่นยนต์รวมร่างขั้นสุดยอด, หุ่นยนต์ฐานทัพ, หุ่นรวมร่างทั้ง 7, เกราะเสริม, นักสู้พิเศษ, ร่างเพิ่มพลัง, ขบวนการฝ่ายอธรรม, หุ่นยนต์รวมร่างหลากรูปแบบ ทั้งหมดนี้จะเล่าเรื่องในแต่ละตอนที่กล่าวรวมถึงใช้เพลงประกอบตามหัวข้อที่ปรากฏ ช่วงท้ายจะมีฉากเมุขล้อเลียนเกี่ยวกับหัวข้อที่นำเสนอ

ในตอนสุดท้าย (Last Task) เป็นการแนะนำขบวนการใหม่นั่นก็คือ ขบวนการหมัดสรรพสัตว์ เกคิเรนเจอร์ ซึ่งหลังจากแนะนำเสร็จแล้วเกคิเรดได้จับมือต่อจากโบเคนเรด

ในสื่ออื่น

[แก้]

ทีวีซีรีส์อื่นๆ

[แก้]
ขบวนการโจรสลัด โกไคเจอร์
ปรากฏในตอนที่ 21

ภาพยนตร์

[แก้]
ขบวนการนักผจญภัย โบเคนเจอร์ เดอะมูวี่ ล่าขุมทรัพย์สุดขอบฟ้า (轟轟戦隊ボウケンジャー THE MOVIE 最強のプレシャス)
โกไคเจอร์ โกเซย์เจอร์ ซุปเปอร์เซนไต 199 ฮีโร่ สุดยอดสงครามประจัญบาน (ゴーカイジャー ゴセイジャー スーパー戦隊199ヒーロー大決戦)
ขบวนการโจรสลัดโกไคเจอร์ เดอะมูฟวี่ ผจญเรือผีจากฟากฟ้า (海賊戦隊ゴーカイジャー THE MOVIE 空飛ぶ幽霊船)

วิซินีม่า

[แก้]
ขบวนการนักผจญภัย โบเคนเจอร์ VS ซูเปอร์เซ็นไต (轟轟戦隊ボウケンジャーVSスーパー戦隊)
ขบวนการจอมยุทธสรรพสัตว์ เกคิเรนเจอร์ VS โบเคนเจอร์ (獣拳戦隊ゲキレンジャーVSボウケンジャー)

อ้างอิง

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]

เชิงอรรถ

[แก้]

ข้อมูลที่มา

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 超全集 上 2006, pp. 18–19, 「ボウケンレッド/明石暁」
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 21st 6 2017, p. 9, 「ボウケンレッド」
  3. 3.0 3.1 3.2 3.3 超全集 上 2006, pp. 20–21, 「ボウケンブラック/伊能真墨」
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 21st 6 2017, p. 10, 「ボウケンブラック」
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 超全集 上 2006, pp. 22–23, 「ボウケンブルー/最上蒼太」
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 21st 6 2017, p. 11, 「ボウケンブルー」
  7. 7.0 7.1 7.2 7.3 超全集 上 2006, pp. 24–25, 「ボウケンイエロー/間宮菜月」
  8. 8.0 8.1 8.2 8.3 21st 6 2017, p. 12, 「ボウケンイエロー」
  9. 9.0 9.1 9.2 9.3 超全集 上 2006, pp. 26–27, 「ボウケンピンク/西堀さくら」
  10. 10.0 10.1 10.2 10.3 21st 6 2017, p. 13, 「ボウケンピンク」
  11. 11.0 11.1 11.2 11.3 超全集 下 2007, pp. 12–13, 「ボウケンシルバー/高丘映士
  12. 12.0 12.1 12.2 12.3 21st 6 2017, p. 14, 「ボウケンシルバー」
  13. 13.00 13.01 13.02 13.03 13.04 13.05 13.06 13.07 13.08 13.09 13.10 13.11 13.12 13.13 13.14 13.15 13.16 13.17 13.18 13.19 13.20 13.21 13.22 13.23 13.24 13.25 13.26 13.27 13.28 13.29 13.30 13.31 13.32 13.33 13.34 13.35 13.36 超全集 上 2006, pp. 34–37, 「10大ゴーゴービークル大図鑑」
  14. 14.00 14.01 14.02 14.03 14.04 14.05 14.06 14.07 14.08 14.09 14.10 14.11 14.12 14.13 14.14 14.15 14.16 14.17 14.18 14.19 14.20 14.21 14.22 14.23 14.24 14.25 14.26 14.27 14.28 14.29 14.30 14.31 14.32 14.33 14.34 14.35 14.36 14.37 14.38 14.39 14.40 14.41 14.42 14.43 14.44 14.45 14.46 14.47 14.48 14.49 14.50 14.51 14.52 14.53 14.54 14.55 14.56 14.57 14.58 14.59 14.60 14.61 14.62 14.63 14.64 14.65 14.66 14.67 14.68 14.69 14.70 14.71 14.72 14.73 14.74 21st 6 2017, pp. 18–19, 「ゴーゴービークル」
  15. 15.00 15.01 15.02 15.03 15.04 15.05 15.06 15.07 15.08 15.09 15.10 15.11 15.12 超全集 下 2007, pp. 16–17, 「サイレンビルダー」
  16. 16.00 16.01 16.02 16.03 16.04 16.05 16.06 16.07 16.08 16.09 16.10 16.11 16.12 16.13 16.14 16.15 16.16 16.17 16.18 16.19 16.20 16.21 16.22 16.23 16.24 16.25 16.26 16.27 16.28 16.29 超全集 下 2007, pp. 18–19, 「ダイボイジャー」
  17. 17.0 17.1 30大戦隊超全集 2007, pp. 26–27, 「ボウケンジャーの巨大ロボ」
  18. 18.0 18.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ROBO
  19. 19.00 19.01 19.02 19.03 19.04 19.05 19.06 19.07 19.08 19.09 19.10 19.11 19.12 19.13 19.14 19.15 19.16 19.17 19.18 19.19 19.20 19.21 19.22 19.23 19.24 19.25 19.26 19.27 19.28 19.29 19.30 19.31 19.32 19.33 19.34 19.35 19.36 19.37 19.38 19.39 19.40 19.41 19.42 19.43 19.44 19.45 19.46 19.47 21st 6 2017, pp. 20–22, 「サージェスロボ」
  20. 20.0 20.1 20.2 20.3 20.4 20.5 20.6 超全集 上 2006, pp. 38–42, 「サージェスロボ完全図鑑」
  21. 21.0 21.1 21.2 21.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ROBO2
  22. 22.0 22.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ROBO3
  23. 23.0 23.1 超全集 下 2007, p. 20, 「ダイタンケン」
  24. 30大戦隊超全集 2007, pp. 24–25, 「ボウケンジャーの巨大ロボ」
  25. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ SPEC
  26. 26.0 26.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ROBO4

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "超上30" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "超上32" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "超下15" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "超下21a" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "超下21b" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "30大20" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "30大21" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "30大23" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "21st6" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "21st15" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "21st34" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "学研の図鑑72" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า
อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "学研の図鑑90" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า

อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ชื่อ "TH4595" ซึ่งนิยามใน <references> ไม่ถูกใช้ในข้อความก่อนหน้า


แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]