สะพานหาวรา
สะพานหาวรา Howrah Bridge | |
---|---|
สะพานหาวรา | |
พิกัด | 22°35′06″N 88°20′49″E / 22.5851°N 88.3469°E |
เส้นทาง | 4 lanes[1] of Strand Road,[2] pedestrians and bicycles |
ข้าม | แม่น้ำหูคลี (Hooghly River) |
ที่ตั้ง | หาวรา (Howrah) และโกลกาตา |
ชื่อทางการ | รพินทระเสตุ (Rabindra Setu) |
ผู้ดูแล | สำนักงานบริหารทรัพย์สินท่าเรือโกลกาตา (Kolkata Port Trust)[3] |
ข้อมูลจำเพาะ | |
ประเภท | สะพานยื่นแบบสะพานแขวน[4] และ สะพานแบบ truss arch[5] |
วัสดุ | เหล็กกล้า |
ความยาว | 705 m (2,313.0 ft)[6][7] |
ความกว้าง | 71 ft (21.6 m) พร้อมทั้งทางเท้าสองฝั่ง 15 ft (4.6 m) on either side[4] |
ความสูง | 82 m (269.0 ft)[5] |
ช่วงยาวที่สุด | 1,500 ft (457.2 m)[4][5] |
เคลียร์ตอนบน | 5.8 m (19.0 ft)[4] |
เคลียร์ตอนล่าง | 8.8 m (28.9 ft)[4] |
ประวัติ | |
ผู้ออกแบบ | บริษัทก่อสร้างอมิต กุมาร, เคารวะ และ รจนา (Amit Kumar, Gaurav & Rachna Construction Company)[8] |
ผู้สร้าง | บริษัทก่อสร้างอมิต กุมาร, เคารวะ และ รจนา (Amit Kumar, Gaurav & Rachna Construction Company) |
วันเริ่มสร้าง | ค.ศ. 1936[8] |
วันสร้างเสร็จ | ค.ศ. 1942[8] |
วันเปิด | 3 Feb 1943[7] |
สถิติ | |
การจราจรโดยเฉลี่ย | 300,000 คัน, คนเดินถนน 450,000 คน[9] |
ค่าผ่าน | ไม่เก็บค่าผ่านทาง |
ที่ตั้ง | |
สะพานหาวรา หรือ สะพานหาวราห์ (อังกฤษ: Howrah Bridge) เป็นสะพานขึงเหนือแม่น้ำหูคลี (Hooghly River) ในรัฐเบงกอลตะวันตก ประเทศอินเดีย เริ่มสร้างในปี 1943[8][10] โดยมีชื่อเดิมว่าสะพานนิวหาวรา (New Howrah Bridge) เพราะจะสร้างทดแทนสะพานลอยน้ำเก่าที่ตั้งอยู่ในจุดเดียวกัน เป้าหมายของการสร้างนั้นเพื่อเชื่อมเมืองหาวรา (Howrah) กับเมืองโกลกาตา (กัลกัตตา) เข้าด้วยกัน เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 1965 ได้เปลี่ยนชื่อสะพานใหม่เป็น สะพานรพินทระเสตุ (Rabindra Setu) ตั้งตามชื่อของกวีเอกชาวเบงกอล รพินทรนาถ ฐากุร ผู้รับรางวัลโนเบลคนแรกของอินเดียและของเอเชีย[10] อย่างไรก็ตามสะพานนี้ยังเป็นที่รู้จักกันทั่วไปในชื่อเดิมคือสะพานหาวรามากว่า
สะพานนี้เป็นหนึ่งในสี่สะพานข้ามแม่น้ำหูคลี และเป็นสัญลักษณ์สำคัญของเมืองโกลกาตาและรัฐเบงกอลตะวันตก ส่วนสะพานอื่น ๆ บนแม่น้ำสายเดียวกันคือวิทยาสาครเสตุ (สะพานหูคลีสอง Second Hooghly Bridge), วิเวกนันทะเสตุ (Vivekananda Setu) และ นิเวทิตาเสตุ (Nivedita Setu) การจราจรบนสะพานอยู่ที่วันละ 100,000 คัน[11] และมีคนเดินข้ามสะพานอีกกว่าวันละ 150,000 คน[9] เป็นไปได้ว่าอาจจะเป็นสะพานยื่นที่มีการสัญจรทางเท้ามากที่สุดในโลก[12] เมื่อสร้างเสร็จ สะพานนี้เป็นสะพานยื่นที่ยาวที่สุดเป็นอันดับที่สามในโลกเมื่อแรกสร้างเสร็จ[13] และในปัจจุบันเป็นสะพานยื่นที่ยาวที่สุดในโลกอันดับที่หก[14]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Howrah Bridge Review". สืบค้นเมื่อ 2011-11-21.
- ↑ "Howrah Bridge Map". สืบค้นเมื่อ 2011-11-26.
- ↑ "Howrah Bridge Maintenance". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 November 2011. สืบค้นเมื่อ 2011-11-21.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 "Bridge Details". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 March 2016. สืบค้นเมื่อ 2011-11-21.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 "Howrah Bridge". สืบค้นเมื่อ 2011-11-21.
- ↑ "Howrah Bridge". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-07. สืบค้นเมื่อ 2011-11-21.
- ↑ 7.0 7.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อmother
- ↑ 8.0 8.1 8.2 8.3 "History of the Howrah Bridge". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 April 2013. สืบค้นเมื่อ 2011-11-21.
- ↑ 9.0 9.1 "Bird droppings gnaw at Howrah bridge frame". The Times Of India. 29 May 2003. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-06-16. สืบค้นเมื่อ 2011-11-21.
- ↑ 10.0 10.1 "Howrah Bridge – The Bridge without Nuts & Bolts!". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-01-07. สืบค้นเมื่อ 2011-11-21.
- ↑ "Flow of Traffic on an average week day (8AM to 8 PM)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 August 2011. สืบค้นเมื่อ 2011-11-21.
- ↑ "Hosanna to Howrah Bridge!". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 November 2011. สืบค้นเมื่อ 2011-11-21.
- ↑ Victor D. Johnson (2007). Essentials Of Bridge Engineering. Oxford & Ibh Publishing Co. Pvt Ltd. p. 259.
- ↑ Durkee, Jackson (24 May 1999), National Steel Bridge Alliance: World's Longest Bridge Spans (PDF), American Institute of Steel Construction, Inc, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 1 June 2002, สืบค้นเมื่อ 2009-01-02