ข้ามไปเนื้อหา

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านกอบูส บิน ซะอีด อาล ซะอีด

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านกอบูส บิน ซะอีด อาล ซะอีด
สุลต่านกอบูสใน ค.ศ. 2013
สุลต่านโอมาน
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง, กลาโหม และการต่างประเทศ
ครองราชย์23 กรกฎาคม ค.ศ. 1970 – 10 มกราคม ค.ศ. 2020
นายกรัฐมนตรี
ฏอริก บิน ตัยมูร (1970–72)
พระองค์เอง (1972–2020)
ก่อนหน้าซะอีด บิน ตัยมูร
ถัดไปฮัยษัม บิน ฏอริก
นายกรัฐมนตรีโอมาน
ดำรงตำแหน่ง
ค.ศ. 1972 – 10 มกราคม ค.ศ. 2020
รอง
ก่อนหน้าฏอริก บิน ตัยมูร
ถัดไปสมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านฮัยษัม บิน ฏอริก อาล ซะอีด
พระราชสมภพ18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1940(1940-11-18)
เศาะลาละฮ์ มัสกัตและโอมาน
(ปัจจุบันคือเขตผู้ว่าราชการอัซซุฟาร ประเทศโอมาน)
สวรรคต10 มกราคม ค.ศ. 2020(2020-01-10) (79 ปี)
อัสซีบ เขตผู้ว่าราชการมัสกัต ประเทศโอมาน[1]
ฝังพระศพ
11 มกราคม ค.ศ. 2020[2]
สุสานหลวง มัสกัต
คู่อภิเษกนาวัล บินต์ ฏอริก อาล ซะอีด
(พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2522)
พระนามเต็ม
กอบูส บิน ซะอีด บิน ตัยมูร บิน ฟัยศ็อล บิน ตุรกี บิน ซะอีด อาล ซะอีด
ราชวงศ์อาล ซะอีด
พระราชบิดาซะอีด บิน ตัยมูร
พระราชมารดามัยซูน บินต์ อะฮ์มัด
ศาสนาอิสลามนิกายอิบาฎียะฮ์
ลายพระอภิไธยSignature of Sultan Qaboos

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านกอบูส บิน ซะอีด อาล ซะอีด (อาหรับ: قابوس بن سعيد آل سعيد; 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1940 – 10 มกราคม ค.ศ. 2020) เป็นสุลต่านแห่งรัฐสุลต่านโอมานในวันที่ 23 กรกฎาคม ค.ศ. 1970 จนกระทั่งสวรรคตใน ค.ศ. 2020 โดยเป็นลูกหลานรุ่นที่ 15 ของผู้ก่อตั้งราชวงศ์อาล ซะอีด[3] พระองค์เป็นกษัตริย์ที่ครองราชย์นานที่สุดในตะวันออกกลางและโลกอาหรับในตอนสวรรคต[4] นั่นคือ เกือบครึ่งศตวรรษ

ยศทางทหาร

[แก้]

สมเด็จพระราชาธิบดีสุลต่านกอบูส บิน ซะอีด อาล ซะอีด ดำรงตำแหน่งจอมทัพในฐานะผู้บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพโอมาน ดังนี้

[ต้องการอ้างอิง]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

เคยได้รับพระราชทาน หรือ เลื่อนชั้นอิสริยาภรณ์ (° = Royal Ark):[5]

ประเทศ ปีที่ได้รับ เครื่องอิสริยาภรณ์ แพรแถบ อ้างอิง
 ออสเตรีย 31 มีนาคม 2544° เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐออสเตรีย [6]
 บาห์เรน เครื่องราชอิสริยาภรณ์อัล คาลิฟาร์ ชั้นที่ 1 °
 บรูไน 15 ธันวาคม 2527° เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎแห่งบรูไน
 อียิปต์ 2519° เครื่องอิสริยาภรณ์แม่น้ำไนล์
 ฝรั่งเศส 31 พฤษภาคม 2532° เครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์ ชั้นประถมาภรณ์
 เยอรมนี 2527 เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี °
 อินเดีย 2547 รางวัลชวาหระลาล เนห์รู สาขาความร่วมมือระหว่างประเทศ (ไม่ปรากฏข้อมูล) [7]
 อินโดนีเซีย 2504 เครื่องอิสริยาภรณ์ดาราแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย °
 อิหร่าน 3 มีนาคม 2517° เครื่องราชอิสริยาภรณ์ราชวงศ์ปาห์ลาวี
 อิหร่าน 14 ตุลาคม 2514 เหรียญที่ระลึก 2500th Anniversary of the founding of the Persian Empire) [8]
 อิตาลี 22 เมษายน 2517 ° เครื่องอิสริยาภรณ์กิตติคุณแห่งสาธารณรัฐอิตาลี [9]
 ญี่ปุ่น 2506 เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันสูงส่งยิ่งดอกเบญจมาศ ชั้นสังวาล°
 จอร์แดน เครื่องราชอิสริยาภรณ์อัล ฮุซเซน บิน อาลี °
 คูเวต 28 ธันวคม 2552 เครื่องราชอิสริยาภรณ์มูบารักผู้ยิ่งใหญ่ °
 เลบานอน เครื่องรัฐอิสริยาภรณ์มิตรไมตรี °
 มาเลเซีย เครื่องราชอิสริยาภรณ์มงกุฎแห่งราชอาณาจักร °
 เนเธอร์แลนด์ 2555 เครื่องราชอิสริยาภรณ์สิงโตเนเธอร์แลนด์
 ปากีสถาน Nishan-e-Pakistan ชั้นที่ 1 °
 กาตาร์ เครื่องราชอิสริยาภรณ์แห่งอิสรภาพ °
 ซาอุดีอาระเบีย Recipient of the Badr Chain °
 ซาอุดีอาระเบีย ชั้นที่ 1 (ธันวาคม 2514)
สายสร้อย (23 ธันวาคม 2549)
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อับดุลเลาะห์ อัล ซาอุ °
 สิงคโปร์ 12 มีนาคม 2552° เครื่องอิสริยาภรณ์เทมาเซ็ก ชั้นที่ 1
 แอฟริกาใต้ 2542 เครื่องอิสริยาภรณ์แหลมกู๊ดโฮป ชั้นที่ 1 [10]
 สเปน 13 ธันวาคม 2528 Knight of the Collar of the Order of Isabella the Catholic °
 ซีเรีย Collar of the Order of Umayyad °
 ตูนิเซีย เครื่องอิสริยาภรณ์แห่งอิสรภาพ °
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Collar of the Order of Etihad (เครื่องอิสริยาภรณ์แห่งสหพันธรัฐ) °
 บริเตนใหญ่ 8 กรกฎาคม 2519 ° เครื่องราชอิสริยาภรณ์นักบุญไมเคิลและนักบุญจอร์จ ชั้นพิเศษ (GCMG)
 บริเตนใหญ่ 8 พฤศจิกายน 2519 ° เครื่องราชอิสริยาภรณ์นักบุญจอห์น ชั้นอัศวิน (KStJ)
 บริเตนใหญ่ 28 กุมภาพันธ์ 2522 ° เครื่องราชอิสริยาภรณ์วิกตอเรีย ชั้นพิเศษ (GCVO)
 บริเตนใหญ่ 18 มีนาคม 2525 ° เครื่องราชอิสริยาภรณ์บาธ ชั้นพิเศษ (GCB)
 บริเตนใหญ่ 19 มีนาคม 2527 ° เครื่องราชอิสริยาภรณ์นักบุญจอห์นชั้นพิเศษ (GCStJ)
 บริเตนใหญ่ 27 พฤศจิกายน 2553 ° เครื่องราชอิสริยาภรณ์รอยัลวิกตอเรียนเชน

พระราชวัง

[แก้]
สถานที่ เมือง พื้นที่ พิกัดภูมิศาสตร์ คุณสมบัติ
พระราชวังอัลอะลัม[11] มัสกัต 2.0 km2 (0.77 sq mi) 23°36′52.86″N 58°35′43.90″E / 23.6146833°N 58.5955278°E / 23.6146833; 58.5955278

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Zacharias, Anna (11 January 2020). "Oman's long night: from rumour to reality as a nation learns of Sultan Qaboos' death". The National. สืบค้นเมื่อ 14 January 2020.
  2. Liz, Sly (11 Jan 2020). "Oman's Sultan Qaboos is buried as his successor is named". The Washington Post. สืบค้นเมื่อ 4 March 2020.
  3. "Qaboos bin Said". Webster's New World Encyclopedia. New York: Macmillan Inc. 1994. p. 694. ISBN 0-671-85017-2.
  4. "Can Oman's Stability Outlive Sultan Qaboos?". Middle East Institute. สืบค้นเมื่อ 1 March 2017.
  5. The Royal Ark, Oman genealogical details, p.9
  6. "Reply to a parliamentary question about the Decoration of Honour" (pdf) (ภาษาเยอรมัน). p. 1441. สืบค้นเมื่อ November 1, 2012.
  7. HM deserves much more than awards and medals เก็บถาวร 2011-07-25 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Times of Oman (2007-01-28). Retrieved on 14 July 2011.
  8. "Badraie". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2014-09-05.
  9. Italian Presidency Website, S.M. Qaboos bin Said Sultano dell'Oman - decorato di Gran Cordone
  10. "1999 National Orders awards". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-12. สืบค้นเมื่อ 2014-09-05.
  11. Thomas, Gavin (17 October 2013). The Rough Guide to Oman (ภาษาอังกฤษ). Rough Guides UK. ISBN 978-1-4093-5065-1.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]