สมเด็จพระพุทธชินวงศ์
หน้าตา
สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ เป็นราชทินนามสมณศักดิ์ชั้นสมเด็จพระราชาคณะ เริ่มพระราชทานครั้งแรกในปี พ.ศ. 2532 ปัจจุบันมีพระเถระได้รับพระราชทานสมณศักดิ์นี้รวมทั้ง 3 รูป
สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ | |
---|---|
การเรียกขาน | ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ |
จวน | พระอารามหลวง |
ผู้แต่งตั้ง | พระมหากษัตริย์ไทย |
วาระ | ตลอดพระชีพ |
ผู้ประเดิมตำแหน่ง | สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต) |
สถาปนา | 5 ธันวาคม พ.ศ. 2532 |
เงินตอบแทน | 27,400 บาท[1] |
ฐานานุกรม
[แก้]สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ มีฐานานุศักดิ์ตั้งฐานานุกรมได้ 10 รูป ดังนี้[2]
- พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ ญาณโกศล วิมลศีลขันธสุนทร บวรมหาคณาธิการนายก ปิฎกธรรมบัณฑิต
|
|
ผู้ได้รับสมณศักดิ์
[แก้]ปัจจุบันมีพระเถระได้รับพระราชทานสมณศักดิ์นี้รวมทั้ง 3 รูป ดังนี้
ลำดับที่ | รายนาม | วัด | ช่วงเวลาที่ดำรงสมณศักดิ์ |
---|---|---|---|
1 | สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สุวรรณ สุวณฺณโชโต) | วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร | พ.ศ. 2532 - 2537 |
2 | สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (ประจวบ กนฺตาจาโร) | วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร | พ.ศ. 2543 - 2550 |
3 | สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม) | วัดพิชยญาติการามวรวิหาร | พ.ศ. 2554 - 2562 |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "บัญชีนิตยภัต ฉบับปรับปรุงใหม่ เริ่มใช้ตั้งแต่ 1 เมษายน 2554 เป็นต้นไป". สำนักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดภูเก็ต. 27 เมษายน 2555. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-18. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2559.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
(help) - ↑ ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์, เล่ม ๑๒๙, ตอนที่ ๘ ข, ๕ มีนาคม ๒๕๕๕, หน้า ๓