สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ
สนามในปี 2020 | |
ชื่อเต็ม | สนามกีฬานิสสัน |
---|---|
ชื่อเดิม | สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ (1998–2005) |
ที่ตั้ง | สวนชินโยโกฮามะ 3302-5 ถนนโคซุคุเอะ โยโกฮามะ จังหวัดคานางาวะ ประเทศญี่ปุ่น |
ขนส่งมวลชน | เจอาร์ตอนกลาง: โทไกโดชิงกันเซ็ง ที่ ชินโยโกฮามะ เจอาร์ตะวันออก: JH สายโยโกฮามะ ที่ โคซุคุเอะ รถไฟใต้ดินเทศบาลโยโกฮามะ: สายสีน้ำเงิน ที่ ชินโยโกฮามะ |
เจ้าของ | นครโยโกฮามะ |
ผู้ดำเนินการ | องค์การกีฬาโยโกฮามะ, โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส |
ความจุ | 72,327[1] |
ขนาดสนาม | 107 m x 72 m[1] |
พื้นผิว | หญ้า[1] |
การก่อสร้าง | |
เปิดใช้สนาม | 1 มีนาคม 1998 |
งบประมาณในการก่อสร้าง | 60.3 พันล้านเยน |
การใช้งาน | |
โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส (1999–ปัจจุบัน) ฟุตบอลทีมชาติญี่ปุ่น |
สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ (ญี่ปุ่น: 横浜国際総合競技場) หรือรู้จักในชื่อ สนามกีฬานิสสัน (ญี่ปุ่น: 日産スタジアム) เป็นสนามกีฬาในโยโกฮามะ จังหวัดคานางาวะ ประเทศญี่ปุ่น เปิดใช้งานในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1998 เป็นสนามเหย้าของโยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส ทีมจากเจลีก ดิวิชัน 1
สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะมีที่นั่งจำนวน 72,327 ที่นั่ง[1] เป็นสนามแห่งหนึ่งที่ใช้จัดแข่งขันฟุตบอลโลก 2002 และเป็นสนามในรอบชิงชนะเลิศระหว่างบราซิลกับเยอรมนีในวันที่ 30 มิถุนายน ค.ศ. 2002 โดยบราซิลชนะ 2–0 นอกจากนี้ ยังเป็นหนึ่งในสนามที่จะใช้งานโอลิมปิกฤดูร้อน 2020[2] และรักบี้ลีกชิงแชมป์โลก 2019[3] ในกรณีที่สนามกีฬาโอลิมปิกแห่งใหม่ยังก่อสร้างไม่เสร็จ
วันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 2009 นิสสันประกาศยกเลิกการต่อสัญญาชื่อสนาม ซึ่งมีผลในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2010[4] อย่างไรก็ตาม ชื่อ สนามกีฬานิสสัน ยังคงใช้เรียกกันทั่วไป
การแข่งขันในระดับนานาชาติ
[แก้]นี่คือรายชื่อการแข่งขันระดับนานาชาตินัดสำคัญ ที่จัดขึ้น ณ สนามกีฬาแห่งนี้
ญี่ปุ่น | 1–0 | ออสเตรเลีย |
---|---|---|
นากาตะ 43' | รายงาน |
ซาอุดีอาระเบีย | 0–3 | สาธารณรัฐไอร์แลนด์ |
---|---|---|
รายงาน | ร็อบบี คีน 7' บรีน 61' ดัฟฟ์ 87' |
เรอัลมาดริด | 2–0 | โอลิมเปีย |
---|---|---|
โรนัลโด 14' กูติ 84' |
โบคาจูเนียร์ | 1 – 1 (a.e.t.) | เอซี มิลาน |
---|---|---|
Donnet 29' | Tomasson 23' | |
ลูกโทษ | ||
Schiavi Battaglia Donnet Cascini |
3–1 | Pirlo Rui Costa Seedorf Costacurta |
ปอร์โต | 0 – 0 (a.e.t.) | วันซ์คัลดาส |
---|---|---|
ลูกโทษ | ||
Diego Carlos Alberto Quaresma Maniche McCarthy Costinha Jorge Costa Ricardo Costa Emanuel |
8–7 | Vanegas Alcazar Rojas de Nigris Fabbro Velásquez Díaz Cataño John García |
เดปอร์ติโบซาปริซา | 0–3 | ลิเวอร์พูล |
---|---|---|
รายงาน | เคราช์ 3' 58' เจอร์ราร์ด 32' |
Al Ittihad | 2–3 | เดปอร์ติโบซาปริซา |
---|---|---|
Kallon 28' Job 53' (pen.) |
รายงาน | Saborío 13' 85' (ลูกโทษ) Gómez 89' |
เซาเปาลู | 1–0 | ลิเวอร์พูล |
---|---|---|
Mineiro 27' | รายงาน |
กลุบอาเมริกา | 0–4 | บาร์เซโลนา |
---|---|---|
รายงาน | Guðjohnsen 11' Márquez 30' Ronaldinho 65' Deco 85' |
Al-Ahly | 2–1 | กลุบอาเมริกา |
---|---|---|
Aboutreika 42' 79' | รายงาน | Cabañas 59' |
Internacional | 1–0 | บาร์เซโลนา |
---|---|---|
Adriano Souza 82' | รายงาน |
อูราวะ เรดไดมอนส์ | 0–1 | เอซี มิลาน |
---|---|---|
รายงาน | Seedorf 68' |
Étoile du Sahel | 2–2 | อูราวะ เรดไดมอนส์ |
---|---|---|
Ben Frej 5' (ลูกโทษ) Chermiti 75' |
รายงาน | Washington 35' 70' |
Boca Juniors | 2–4 | เอซี มิลาน |
---|---|---|
Palacio 22' Ambrosini 85' (o.g.) |
รายงาน | Inzaghi 21' 71' Nesta 50' Kaká 61' |
กัมบะ โอซากะ | 3–5 | แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด |
---|---|---|
ยามาซากิ 74' เอ็นโด 85' (ลูกโทษ) ฮาชิโมโตะ 90+1' |
รายงาน | วีดิช 28' โรนัลโด 45+1' รูนีย์ 75' 79' เฟลตเชอร์ 78' |
Al-Ahly | 0–1 | แอดิเลดยูไนเต็ด |
---|---|---|
รายงาน | Cristiano 7' |
Pachuca | 0–1 | กัมบะ โอซากะ |
---|---|---|
รายงาน | Yamazaki 29' |
LDU Quito | 0–1 | แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด |
---|---|---|
รายงาน | รูนีย์ 73' |
คาชิวะ เรย์โซล | 0 – 0 | Al-Sadd |
---|---|---|
รายงาน | ||
ลูกโทษ | ||
Jorge Wagner ซาวะ ฮายาชิ โอตานิ |
3 – 5 | Niang Keïta Majid Al Haidos Belhadj |
ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ | 1–0 | ออกแลนด์ซิตี |
---|---|---|
อาโอยามะ 66' | รายงาน |
มีการยืนสงบนิ่ง 1 นาทีเพื่อไว้อาลัยให้กับ Richard Nieuwenhuizen ผู้ช่วยผู้ตัดสินริมเส้นชาวเนเธอร์แลนด์ที่เสียชีวิตเนื่องจากเหตุรุนแรงในการแข่งขันฟุตบอลเยาวชนสี่วันก่อนการแข่งขัน[5]
คอรินเทียนส์ | 1–0 | เชลซี |
---|---|---|
Guerrero 69' | รายงาน |
ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ | 2–0 | ออกแลนด์ซิตี |
---|---|---|
Minagawa 9' Shiotani 70' |
รายงาน |
บาร์เซโลนา | 3–0 | กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ |
---|---|---|
ซัวเรซ 39', 50', 67' (ลูกโทษ) | รายงาน |
ซานเฟรซ ฮิโรชิมะ | 2–1 | กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ |
---|---|---|
Douglas 70', 83' | รายงาน | เปาลิญญู 4' |
รีเบร์เปลต | 0–3 | บาร์เซโลนา |
---|---|---|
รายงาน | เมสซี 36' ซัวเรซ 49', 68' |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 "nissan-stadium.jp – Overview of the facility". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 November 2010. สืบค้นเมื่อ 28 April 2015.
- ↑ "Venue Plan". Tokyo 2020 Bid Committee. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-27. สืบค้นเมื่อ 11 September 2013.
- ↑ "Yokohama Stadium to host 2019 Rugby World Cup Final". The Guardian. สืบค้นเมื่อ 19 October 2015.
- ↑ 「日産スタジアム」の命名権、更新見送り เก็บถาวร 2009-11-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Nikkei Net, 29 August 2009 (Japanese)
- ↑ Blatter shocked at Dutch linesman death เก็บถาวร 2012-12-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Reuters (6 ธันวาคม ค.ศ. 2012)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Nissan Stadium เก็บถาวร 2006-05-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Stadium Guide Article
- FIFA Profile เก็บถาวร 2013-11-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
ก่อนหน้า | สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ | ถัดไป | ||
---|---|---|---|---|
สตาดเดอฟร็องส์ ปารีส |
สนามรอบชิงชนะเลิศ ฟุตบอลโลก (2002) |
โอลึมเพียชตาดิโยน เบอร์ลิน | ||
อัซเตกา เม็กซิโกซิตี |
สนามรอบชิงชนะเลิศ ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ (2001) |
สตาดเดอฟร็องส์ ปารีส | ||
สนามกีฬาโอลิมปิก โตเกียว |
สนามรอบชิงชนะเลิศ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรยุโรปและอเมริกาใต้ (2002–2004) |
ไม่มี | ||
เอสตาจีอูดูมารากานัง รีโอเดจาเนโร |
สนามรอบชิงชนะเลิศ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก (2005, 2006, 2007, 2008) |
สนามกีฬาซายิดสปอร์ตซิตี อาบูดาบี | ||
สนามกีฬาซายิดสปอร์ตซิตี อาบูดาบี |
สนามรอบชิงชนะเลิศ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก (2011, 2012) |
สตาดเดอมาร์ราคิช มาร์ราคิช | ||
ทวิกเกนแฮมสเตเดียม ลอนดอน |
สนามรอบชิงชนะเลิศ รักบี้ลีกชิงแชมป์โลก 2019 |
รอประกาศ |