สตรอนเชียมฟลูออไรด์
หน้าตา
ชื่อ | |
---|---|
ชื่ออื่น
Strontium difluoride
Strontium(II) fluoride | |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.029.091 |
EC Number |
|
ผับเคม CID
|
|
UNII | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
SrF2 | |
มวลโมเลกุล | 125.62 g/mol |
ความหนาแน่น | 4.24 g/cm3 |
จุดหลอมเหลว | 1,473 องศาเซลเซียส (2,683 องศาฟาเรนไฮต์; 1,746 เคลวิน) |
จุดเดือด | 2,460 องศาเซลเซียส (4,460 องศาฟาเรนไฮต์; 2,730 เคลวิน) |
0.117 g/100 mL | |
Solubility product, Ksp | 4.33×10−9[1] |
−37.2·10−6 cm3/mol | |
ดัชนีหักเหแสง (nD)
|
1.439 @0.58 µm |
โครงสร้าง | |
cubic crystal system, cF12 | |
Fm3m, #225 | |
a = 5.80 Å, b = 5.80 Å, c = 5.80 Å α = 90°, β = 90°, γ = 90°
| |
Sr, 8, cubic F, 4, tetrahedral | |
ความอันตราย | |
จุดวาบไฟ | ไม่ติดไฟ |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แอนไอออนอื่น ๆ
|
สตรอนเชียมคลอไรด์ สตรอนเชียมโบรไมด์ สตรอนเชียมไอโดไดด์ |
แคทไอออนอื่น ๆ
|
เบริลเลียมฟลูออไรด์ แมกนีเซียมฟลูออไรด์ แคลเซียมฟลูออไรด์ แบเรียมฟลูออไรด์ |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
สตรอนเชียมฟลูออไรด์ (อังกฤษ: strontium fluoride) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่มีสูตรเคมีคือ SrF2 เป็นของแข็งผลึกสีขาว พบในแร่สตรอนชิโอฟลูออไรต์ สามารถเตรียมได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างสตรอนเชียมคลอไรด์กับแก๊สฟลูออรีน หรือสตรอนเชียมคาร์บอเนตกับกรดไฮโดรฟลูออริก สตรอนเชียมฟลูออไรด์มีคุณสมบัติเป็นสภาพนำไอออนยวดยิ่งเช่นเดียวกับแคลเซียมฟลูออไรด์และแบเรียมฟลูออไรด์[2]
สตรอนเชียมฟลูออไรด์ใช้ในอุตสาหกรรมกระจกและเลนส์[3] และใช้ในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเทอร์โมอิเล็กทริกไอโซโทปรังสี สตรอนเชียมฟลูออไรด์ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อดวงตา ผิวหนังและระบบทางเดินหายใจจึงควรใช้อย่างระมัดระวัง[4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ John Rumble (June 18, 2018). CRC Handbook of Chemistry and Physics (ภาษาอังกฤษ) (99 ed.). CRC Press. pp. 5–189. ISBN 978-1138561632.
- ↑ "STRONTIUM". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2005-12-14. สืบค้นเมื่อ 2005-12-14.
- ↑ "Strontium fluoride (SrF2)" (PDF). Crystran. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-08-04. สืบค้นเมื่อ March 19, 2017.
- ↑ "Strontium fluoride - MSDS" (PDF). Plasmaterials. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-08-14. สืบค้นเมื่อ March 19, 2017.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ สตรอนเชียมฟลูออไรด์
- "Strontium fluoride - MSDS" (PDF). Basstech International.