สงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สี่
สงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สี่ | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ สงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ | |||||||||
ยุทธนาวีแห่งดอกเกอร์แบงก์ โดยจิตรกรโธมัส ลูนี | |||||||||
| |||||||||
คู่สงคราม | |||||||||
บริเตนใหญ่ |
สาธารณรัฐดัตช์ ฝรั่งเศส | ||||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||||
ไฮด์ พาร์คเกอร์ เอ็ดเวิร์ด ฮิว จอร์จ รอดนีย์ จอร์จ จอห์นสโตน |
โยฮัน ซูทแมน Jan Kinsbergen Iman Falck Bailli de Suffren |
สงครามอังกฤษ-เนเธอร์แลนด์ครั้งที่สี่ (อังกฤษ: The Fourth Anglo-Dutch War, ดัตช์: Vierde Engels-Nederlandse Oorlog, ค.ศ. 1780-1784) เป็นความขัดแย้งทางการทหารระหว่างราชอาณาจักรบริเตนใหญ่กับสาธารณรัฐดัตช์ ซึ่งเกิดขึ้นในระยะเวลาเดียวกันกับสงครามประกาศอิสรภาพอเมริกา โดยมีเหตุมาจากข้อตกลงที่ไม่ลงตัวกันเกี่ยวกับความถูกต้องทางการค้าระหว่างเนเธอร์แลนด์กับศัตรูของบริเตนใหญ่ในขณะนั้น
ถึงแม้ว่าฝ่ายดัตช์ยังไม่ได้เข้าเป็นพันธมิตรกับสหรัฐอเมริกาและพันธมิตรอย่างเป็นทางการ แต่ความสัมพันธ์ทางการทูตอันแน่นแฟ้นระหว่างสองประเทศนั้นเกิดขึ้นในระหว่างการดำรงตำแหน่งของจอห์น แอดัมส์ เอกอัครข้าราชทูตอเมริกันประจำสาธารณรัฐดัตช์ (และประธานาธิบดีในอนาคต) ทำให้สาธารณรัฐดัตช์เป็นประเทศยุโรปแห่งที่สองที่รับรองสภาแห่งภาคพื้นทวีป (Continental Congress) ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1782 ซึ่งต่อมาได้ในเดือนตุลาคมได้มีการทำสนธิสัญญามิตรภาพเป็นคู่ค้าระหว่างกัน
การปะทะกันส่วนใหญ่เกิดขึ้นโดยเป็นการปฏิบัติการของกองทัพบริเตนใหญ่ต่อเศรษฐกิจของดินแดนอาณานิคมต่างๆ ของเนเธอร์แลนด์ และสงครามสิ้นสุดลงโดยฝ่ายดัตช์เป็นฝ่ายพ่ายแพ้อย่างหนัก และส่งผลกระทบโดยตรงต่อเศรษฐกิจและการเมืองในสมัยนั้น ซึ่งมีผลต่อมาถึงการล่มสลายของสาธารณรัฐดัตช์ในที่สุด[3][4][5]
สงครามในครั้งนี้ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการล่มสลายของจักรวรรดิดัตช์ และการผงาดขึ้นของบริเตนใหญ่ในฐานะของมหาอำนาจทางการค้าระหว่างประเทศ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Edler 2001, p. 88
- ↑ Edler 2001, 181–189
- ↑ Edler 2001, p. 88
- ↑ Clodfelter 2017, p. 133-134
- ↑ Dirks, J. J. B. (1871), De Nederlandsche Zeemagt in Hare verschillende Tijdperken Geschetst. Deel 3 (in Dutch), Rotterdam: H. Nijgh, p. 291
ที่มา
[แก้]- Clodfelter, M. (2017). Warfare and Armed Conflicts: A Statistical Encyclopedia of Casualty and Other Figures, 1492–2015 (4th ed.). Jefferson, North Carolina: McFarland.
- Boswell, James (1782), The Scots Magazine, Volume 44, Edinburgh: Sands, Brymer, Murray and Cochran, OCLC 1765266
- Dirks, J. J. B. (1871), De Nederlandsche Zeemagt in Hare verschillende Tijdperken Geschetst. Deel 3 (ภาษาดัตช์), Rotterdam: H. Nijgh
- Hobson, Rolf; Kristianson, Tom, บ.ก. (2004), Navies in Northern Waters, Portland: Frank Cass, ISBN 0-7146-5541-4
- Israel, Jonathan (1995), The Dutch Republic: Its Rise, Greatness, and Fall, 1477–1806, Oxford: Clarendon Press, ISBN 0-19-873072-1
- Edler, F. (2001) [1911], The Dutch Republic and The American Revolution, Honolulu, Hawaii: University Press of the Pacific, ISBN 0-89875-269-8
- Adams, Julia (2005), The Familial State: Ruling Families And Merchant Capitalism In Early Modern Europe, Ithaca: Cornell University Press, ISBN 0-8014-3308-8
- Meinsma, Johannes Jacobus (1872), Geschiedenis van de Nederlandsche Oost-Indische Bezittingen (ภาษาดัตช์), Delft: J. IJkema, OCLC 23421932
- Moore, Bob, บ.ก. (2003), Colonial Empires Compared: Britain and the Netherlands, 1750–1850, Aldershot: Ashgate, ISBN 0-7546-0492-6
- Rodger, N. A. M. (2006), The Command of the Ocean: A Naval History of Britain 1649–1815, London: Penguin Books, ISBN 0-14-102690-1
- Schama, Simon (1977), Patriots and Liberators: Revolution in the Netherlands 1780–1813, New York: Knopf, ISBN 0-394-48516-5
- Scott, Hamish M. "Sir Joseph Yorke, Dutch politics and the origins of the fourth Anglo-Dutch war." The Historical Journal 31#3 (1988): 571-589.
- Simms, Brendan (2008), Three Victories and a Defeat: The Rise and Fall of the First British Empire, New York: Basic Books, ISBN 978-0-465-01332-6