ข้ามไปเนื้อหา

สกุนคา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สกุนคา
ภาพนูนเบฮิสตูนของสกุนคา
เขียนว่า: iyam Skuⁿxa hya Saka ("นี่คือสกุนคา พระองค์เป็นชาวซากา")[1]
กษัตริย์แห่ง Sakā tigraxaudā
ครองราชย์กลางศตวรรษที่ 6 ก่อน ค.ศ. – 518 ปีก่อน ค.ศ.
ก่อนหน้าตอมีริส (?)
ถัดไปไม่ทราบ
ซากาSkuⁿxa
ศาสนาศาสนาซิเทีย

สกุนคา (เปอร์เซียเก่า: 𐎿𐎤𐎢𐎧 Skuⁿxa)[1] เป็นกษัตริย์แห่ง Sakā tigraxaudā ("ซากาผู้สวมหมวกแหลม") กลุ่มของชาวซากาในศตวรรษที่ 6 ก่อน ค.ศ.

พระนาม

[แก้]

พระนาม Skuⁿxa อาจมีความเกี่ยวข้องกับศัพท์ภาษาออสซีเชียที่หมายถึง "ผู้แยกแยะตัวเอง" และรับรองเป็น skₒyxyn (скойхйн) ในสำเนียง Digor และ æsk’wænxun (ӕскъуӕнхун) ในสำเนียง Iron[2][3]

จับกุม

[แก้]

เมื่อ 519 ปีก่อน ค.ศ. พระเจ้าดาไรอัสที่ 1 แห่งอะคีเมนิดโจมตีเผ่าซากาและจับกุมกษัตริย์ของพวกเขา การจับกุมพระองค์ปรากฏในรูปนูนของจารึกเบฮิสตูนในแถว"กษัตริย์ผู้โกหก"ที่พ่ายแพ้องค์สุดท้าย[4] หลังความพ่ายแพ้ ดาไรอัสทรงแต่งตั้งหัวหน้าจากเผ่าอื่นมาแทนที่สกุนคา[5]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "Old Persian Corpus: Part No. 23: Text: DBk". Thesaurus Indogermanischer Text- und Sprachmaterialien. Goethe University Frankfurt. สืบค้นเมื่อ 28 July 2022.
  2. Schmitt, Rüdiger (2018). "SCYTHIAN LANGUAGE". Encyclopædia Iranica. สืบค้นเมื่อ 28 July 2022. OPers. Skunxa- (the leader of the Sakas, who rebelled against Darius I), perhaps related to Oss. skₒyxyn/æsk’wænxun “to distinguish oneself”.
  3. Schmitt, Rüdiger (2018). "Die Sprache der Skythen" [THE LANGUAGE OF THE SCYTHIANS] (PDF). Nartamongæ. The Journal of Alano-Ossetic Studies: Epic, Mythology & Language (ภาษาเยอรมัน). 13 (1–2): 77–86. doi:10.23671/VNC.2018.1-2.37869. ISSN 1810-8172. สืบค้นเมื่อ 28 July 2022. 3. altpers. Skunxa- (der Anführer der Saken, die sich gegen Dareios I. erhoben), vielleicht zu verbinden mit osset. digoron skₒyxyn, iron æsk’wænxun „sich auszeichnen usw.“. [3. OPers. Skunxa- (the leader of the Sakas, who rebelled against Darius I), perhaps related to Osset. Digor skₒyxyn, Iron æsk’wænxun "to distinguish oneself, etc.".]
  4. Rolle, Renate (1 July 1992). The World of the Scythians. University of California Press. p. 47. ISBN 978-0520068643.
  5. M. A. Dandamayev (1999). History of Civilizations of Central Asia Volume II: The development of sedentary and nomadic civilizations: 700 BC to AD 250. UNESCO. pp. 44–46. ISBN 978-8120815407.