ศาสนาอิสลามกับกลุ่มคนแอลจีบีที
ทัศนคติต่อกลุ่มคนอย่างเลสเบียน, เกย์, รักร่วมสองเพศ, และกะเทย (แอลจีบีที) และประสบการณ์ที่พึงได้รับของกลุ่มคนในโลกมุสลิมได้รับอิทธิพลมาจากศาสนา, ข้อบัญญัติ, สังคม, การเมือง, และประวัติศาสตร์ทางวัฒนธรรม[1][2][3][4] คัมภีร์อัลกุรอานบรรยายเรื่องราวของ "กลุ่มชนของนบีลูฏ" ว่าได้ถูกพระเจ้าทรงพิโรธ เนื่องจากการที่ชายมีสัมพันธ์ทางกามรมณ์ระหว่างกันและกัน[5][6][7] แต่นักประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่มีมุมมองว่าศาสดามุฮัมมัดไม่ได้กล่าวห้ามความสัมพันธ์แบบรักร่วมเพศ ถึงแม้ว่าจะไม่เห็นด้วยกับกลุ่มคนรุ่นราวคราวเดียวกัน[8] ในขณะเดียวกัน "ทั้งคัมภีร์อัลกุรอานและหะดีษต่างประณามการกระทำรักร่วมเพศอย่างสิ้นเชิง";[9][5][10][11] ซึ่งมี หะดีษ บางบทกล่าวถึงบทกำหนดโทษสำหรับผู้ละเมิดถึงประหารชีวิตจากการมีเพศสัมพันธ์ระหว่างชายรักร่วมเพศหรือหญิงรักร่วมเพศภายในที่สาธารณะ[1][2][12][13]
ปรากฏหลักฐานเป็นที่เล็กน้อยสำหรับการรายงานพฤติกรรมรักร่วมเพศในสังคมอิสลามในช่วงต้นศตวรรษถึงครึ่งศตวรรษของประวัติศาสตร์ศาสนาอิสลาม (ช่วงพุทธศตวรรษที่ 11),[12] เป็นที่รู้กันว่าเป็นความสัมพันธ์แบบชายรักชาย[10] และถูกเพิกเฉยแต่ไม่ถูกทำนองคลองธรรมในแถบอาระเบีย[8] รักร่วมเพศเป็นสิ่งที่ต้องห้าม (ฮะรอม) ตามหลักนิติศาสตร์อิสลาม (มัซฮับ) แต่ละท้องที่ โดยจะมีบทลงโทษอย่างการเฆี่ยนตี, การปาหิน, และประหารชีวิต ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสถานการณ์และโรงเรียนสอนศาสนาอิสลาม (มัดรอสะหฺ)[14][14] ในขณะเดียวกัน รักร่วมเพศเป็นสิ่งที่พอจะยอมรับได้ในทางปฏิบัติช่วงสังคมก่อนประวัติศาสตร์อิสลาม,[2][8][10][12][13] จากการบันทึกทางประวัติศาสตร์ บทลงโทษถูกใช้กับกรณีรักร่วมเพศน้อยครั้ง แต่มักใช้กับกรณีการข่มขืนและ "การละเมิดศีลธรรมอย่างร้ายแรงเป็นที่ประจักษ์"[12] โฮโมโรติกและเปเดรัสติสได้ปรากฏในวรรณกรรมและบทกวีในภาษาหลักของโลกอิสลามตั้งแต่ช่วงพุทธศตวรรษที่ 12 จนถึงยุคใหม่[8][12][15][13] ความรับรู้ถึงรักร่วมเพศตามวรรณกรรมของโลกอิสลามถูกมองว่าคล้ายคลึงกับประเพณีของกรีกกับโรมันในสมัยโบราณ มากกว่าที่จะหมายความถึงรสนิยมทางเพศในปัจจุบัน[8][12][16]
ในยุคสัมยใหม่ ทัศนคติสาธารณะต่อรักร่วมเพศในโลกอิสลามมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากในช่วงพุทธศตวรรษที่ 23 จากการขยายการแผยแพร่ศาสนาของอิสลามมูลฐานวิทยาตั้งแต่การเคลื่อนไหวของสะลาฟีย์และวะฮาบีย์[14] โลกมุสลิมคงได้รับอิทธิพลของยุโรปในเรื่องแนวคิดเรื่องเพศและบรรทัดฐานที่แพร่หลายในขณะนั้น ประเทศที่มีชาวมุสลิมเป็นใหญ่คงใช้บทลงโทษทางอาญาต่อรักร่วมเพศที่บัญญัติในช่วงแรกของอาณานิคมภายใต้การปกครองของยุโรป[14] ขณะเดียวกันการเคลื่อนไหวของกลุ่มแอลจีบีทีได้รับความสนใจในยุโรปและตะวันตก กลุ่มอิสลามสุดโต่งมองว่ายุโรปนั้นเชื่อมโยงกับรักร่วมเพศและต้องการความเสื่อมทางศีลธรรม[17] ในวัฒนธรรมสังคมร่วมสมัย อคติ, ความรุนแรง และการเลือกปฏิบัติ รวมถึงข้อบัญญัติต่างปรากฎต่อกลุ่มแอลจีบีทีในโลกมุสลิม[1] และทวีคูณรุนแรงโดยกลุ่มอนุรักษสังคมที่ปรากฏในช่วงนี้อย่างกลุ่มอิสลามิตในบางประเทศ[14][18][19] มีกฎหมายต่อต้านกิจกรรมทางเพศแบบรักร่วมเพศในประเทศที่มีชาวมุสลิมเป็นส่วนใหญ่จำนวนมาก ซึ่งกำหนดโทษประหารชีวิตไว้เฉพาะบางประเทศ[20]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 Rehman, Javaid; Polymenopoulou, Eleni (2013). "Is Green a Part of the Rainbow? Sharia, Homosexuality, and LGBT Rights in the Muslim World" (PDF). Fordham International Law Journal. Fordham University School of Law. 37 (1): 1–53. ISSN 0747-9395. OCLC 52769025. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 July 2018. สืบค้นเมื่อ 30 October 2021.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 Schmidtke, Sabine (June 1999). "Homoeroticism and Homosexuality in Islam: A Review Article". Bulletin of the School of Oriental and African Studies. Cambridge and New York: Cambridge University Press on behalf of the School of Oriental and African Studies (University of London). 62 (2): 260–266. doi:10.1017/S0041977X00016700. eISSN 1474-0699. ISSN 0041-977X. JSTOR 3107489. S2CID 170880292.
- ↑ Murray, Stephen O. (1997). "The Will Not to Know: Islamic Accommodations of Male Homosexuality". ใน Murray, Stephen O.; Roscoe, Will (บ.ก.). Islamic Homosexualities: Culture, History, and Literature. New York and London: NYU Press. pp. 14–54. doi:10.18574/nyu/9780814761083.003.0004. ISBN 9780814774687. JSTOR j.ctt9qfmm4. OCLC 35526232. S2CID 141668547. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-04-19. สืบค้นเมื่อ 2021-11-06.
- ↑ Polymenopoulou, Eleni (18 May 2020). "Forum: LGBTQ+ Issues in International Relations, Human Rights & Development – Same-Sex Narratives and LGBTI Activism in the Muslim World". Georgetown Journal of International Affairs. Washington, D.C.: Walsh School of Foreign Service at the Georgetown University. ISSN 1526-0054. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 October 2020. สืบค้นเมื่อ 7 December 2021.
- ↑ 5.0 5.1 Rowson, Everett K. (2006). "Homosexuality". ใน McAuliffe, Jane Dammen (บ.ก.). Encyclopaedia of the Qurʾān. Vol. 2. Leiden: Brill Publishers. pp. 444–445. doi:10.1163/1875-3922_q3_EQCOM_00085. ISBN 90-04-14743-8.
- ↑ 7:80-84; 11:77-83; 21:74; 22:43; 26:165–175; 27:56–59; and 29:27–33.
- ↑ Kligerman (2007) pp. 53–54
- ↑ 8.0 8.1 8.2 8.3 8.4 Murray, Stephen O.; Roscoe, Will; Allyn, Eric; Crompton, Louis; Dickemann, Mildred; Khan, Badruddin; Mujtaba, Hasan; Naqvi, Nauman; Wafer, Jim; Westphal-Hellbusch, Sigrid (1997). "Conclusion". ใน Murray, Stephen O.; Roscoe, Will (บ.ก.). Islamic Homosexualities: Culture, History, and Literature. New York and London: NYU Press. pp. 307–310. doi:10.18574/nyu/9780814761083.003.0004. ISBN 9780814774687. JSTOR j.ctt9qfmm4. OCLC 35526232. S2CID 141668547. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2023-04-19. สืบค้นเมื่อ 2021-04-20.
- ↑ Rowson, Everett K. (October 1991). "The Effeminates of Early Medina" (PDF). Journal of the American Oriental Society. American Oriental Society. 111 (4): 671–693. CiteSeerX 10.1.1.693.1504. doi:10.2307/603399. ISSN 0003-0279. JSTOR 603399. LCCN 12032032. OCLC 47785421. S2CID 163738149. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 1 October 2008. สืบค้นเมื่อ 7 November 2021.
- ↑ 10.0 10.1 10.2 Bosworth, C. E.; van Donzel, E. J.; Heinrichs, W. P.; Lewis, B.; Pellat, Ch., บ.ก. (1986). "Liwāṭ". Encyclopaedia of Islam, Second Edition. Vol. 5. Leiden: Brill Publishers. doi:10.1163/1573-3912_islam_SIM_4677. ISBN 978-90-04-16121-4.
- ↑ Mohd Izwan bin Md Yusof; Muhd. Najib bin Abdul Kadir; Mazlan bin Ibrahim; Khader bin Ahmad; Murshidi bin Mohd Noor; Saiful Azhar bin Saadon. "Hadith Sahih on Behaviour of LGBT" (PDF). islam.gov.my (ภาษาอังกฤษ). Government of Malaysia. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 24 October 2018. สืบค้นเมื่อ 26 July 2019.
- ↑ 12.0 12.1 12.2 12.3 12.4 12.5 Rowson, Everett K. (30 December 2012) [15 December 2004]. "HOMOSEXUALITY ii. IN ISLAMIC LAW". Encyclopædia Iranica. Vol. XII/4. New York: Columbia University. pp. 441–445. doi:10.1163/2330-4804_EIRO_COM_11037. ISSN 2330-4804. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 May 2013. สืบค้นเมื่อ 13 April 2021.
- ↑ 13.0 13.1 13.2 Everett K. Rowson (2004). "Homosexuality". ใน Richard C. Martin (บ.ก.). Encyclopedia of Islam and the Muslim World. MacMillan Reference USA.
- ↑ 14.0 14.1 14.2 14.3 14.4 Ibrahim, Nur Amali (October 2016). "Homophobic Muslims: Emerging Trends in Multireligious Singapore". Comparative Studies in Society and History. Cambridge and New York: Cambridge University Press. 58 (4): 955–981. doi:10.1017/S0010417516000499. ISSN 1475-2999. JSTOR 26293235. S2CID 152039212.
- ↑ Khaled El-Rouayheb. Before Homosexuality in the Arab-Islamic World 1500–1800. pp. 12 ff.
- ↑ Ali, Kecia (2016). Sexual Ethics And Islam. Oneworld Publications (Kindle edition). p. 105.
- ↑ "How homosexuality became a crime in the Middle East". The Economist. ISSN 0013-0613. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-07-03. สืบค้นเมื่อ 2022-12-05.
- ↑ Siraj, Asifa (September 2012). ""I Don't Want to Taint the Name of Islam": The Influence of Religion on the Lives of Muslim Lesbians". Journal of Lesbian Studies. Taylor & Francis. 16 (4: Lesbians, Sexuality, and Islam): 449–467. doi:10.1080/10894160.2012.681268. PMID 22978285. S2CID 22066812.
- ↑ Zaharin, Aisya Aymanee M.; Pallotta-Chiarolli, Maria (June 2020). "Countering Islamic conservatism on being transgender: Clarifying Tantawi's and Khomeini's fatwas from the progressive Muslim standpoint". International Journal of Transgender Health. Taylor & Francis. 21 (3): 235–241. doi:10.1080/26895269.2020.1778238. ISSN 1553-2739. LCCN 2004213389. OCLC 56795128. PMC 8726683. PMID 34993508. S2CID 225679841.
- ↑ Ghoshal, Neela, บ.ก. (26 January 2022). ""Even If You Go to the Skies, We'll Find You": LGBT People in Afghanistan After the Taliban Takeover". www.hrw.org (ภาษาอังกฤษ). New York: Human Rights Watch. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 February 2023. สืบค้นเมื่อ 21 February 2023.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- LGBTQI Lecture Series – Muslims for Progressive Values lecture series on homophobia in Muslim communities
- BBC3 'Free Speech' 'Can you be Gay and Muslim?' Maajid Nawaz vs Abdullah al Andalusi – BBC3's "Gay and Muslim" debate between Maajid Nawaz and Abdullah al Andalusi
- Kotb, H. G. (2004). Sexuality in Islam (วิทยานิพนธ์). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-09.
- "LGBTQI Resources". www.mpvusa.org. Los Angeles: Muslims for Progressive Values. 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 August 2021. สืบค้นเมื่อ 30 October 2021.