ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเยอรมนี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เยอรมนี
สมาคมดัตซ์เซสเซอร์ วอลเลย์บอล เวอร์แบนด์
สมาพันธ์สมาพันธ์วอลเลย์บอลยุโรป
หัวหน้าผู้ฝึกสอนเฟลิกซ์ คอสลอฟสกี
อันดับเอฟไอวีบี12 (ณ 3 มิถุนายน 2024)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน3 (ครั้งแรกเมื่อ 1996)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 6 (2000)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน6 (ครั้งแรกเมื่อ 1994)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 5 (1994)
www.volleyball-verband.de (เยอรมัน)
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเยอรมนี
เหรียญรางวัล
วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ฮ่องกง 2002 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 โตเกียว 2009 ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์ยุโรป
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เยอรมนีตะวันตก 1983 ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ เบลเยียม 1987 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ฟินแลนด์ 1977 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ ฝรั่งเศส 1979 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เนเธอร์แลนด์ 1985 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เยอรมนีตะวันออก 1989 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ อิตาลี/เซอร์เบีย 2011 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ เยอรมนี/สวิสเซอร์แลนด์ 2013 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ยูโกสลาเวีย 1975 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 อิตาลี 1991 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ตุรกี 2003 ทีม
วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเยอรมนีในโอลิมปิกฤดูร้อนปี 2004

วอลเลย์บอลหญิงทีมชาติเยอรมนี (เยอรมัน: Deutsche Volleyballnationalmannschaft der Frauen) เป็นทีมวอลเลย์บอลหญิงของประเทศเยอรมนี ทีมนี้ได้รับการบริหารโดยสมาพันธ์ดัตซ์เซสเซอร์ วอลเลย์บอล เวอร์แบนด์ (ดีวีวี) และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ

หนึ่งในความสำเร็จที่ยิ่งใหญ่ของพวกเธอคือการคว้าอันดับที่ 6 ในการแข่งวอลเลย์บอลหญิงเวิลด์คัพ 2011 ที่ประเทศญี่ปุ่น และคว้าเหรียญทองแดงจากการแข่งขัน วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์ 2002 และ 2009

รายชื่อผู้เล่นชุดปัจจุบัน

[แก้]
เบอร์ ชื่อ วันเกิด ส่วนสูง ตบ บล็อก สโมสร 2013-2014 ตำแหน่ง
1 Linda Bock 27/05/2000 172 278 270 เยอรมนี USC Münster ตัวรับอิสระ
2 Pia Kastner 29/06/1998 180 297 286 เยอรมนี Allianz MTV Stutgart ตัวเซต
4 Denise Imoudu 14/12/1995 180 290 280 เยอรมนี SSC Palmberg Schwerin ตัวเซต
5 Jana Franziska Poll 07/05/1988 185 310 290 เยอรมนี Ladies in Black Aachen ตัวตบหัวเสา
6 Jennifer Janiska 05/04/1994 186 296 288 เยอรมนีDresdner SC ตัวตบหัวเสา
6 เคธี รูสซูเวสต์ 2 มีนาคม ค.ศ. 1982 199 319 300 เยอรมนี เอสซี พอร์ตสดัม บอลเร็ว
7 จานา เฟรนซิสกา โพล 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1988 188 310 290 เยอรมนี ชิคเวอร์ริเนอร์ เอสซี บอลกลาง
8 บริดจ์ คูเฟ่ดิสต์ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 191 311 294 อิตาลี อิโมโค วอลเลย์ คอนเน็กเลียโน บอลเร็ว
9 โครีนา ชูแชตส์ วองต์ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 1983 190 310 298 อาเซอร์ไบจาน โลโคโมทีฟ บากู ตัวตบหัวเสา
10 แอนเน่ แมตช์เทสต์ 30 เมษายน ค.ศ. 1985 187 312 295 เยอรมนี เดสซิเนอร์ เอสซี ตัวตบหัวเสา
11 คริสตินส์ เฟิร์สท์ 29 มีนาคม ค.ศ. 1985 198 323 307 ตุรกี วาคีฟแบงก์ อิสตันบูล บอลกลาง
12 ไฮเอค เบียร์ 9 ธันวาคม ค.ศ. 1983 184 305 293 โปแลนด์ บีเคเอฟ ออลพรอฟ เบลสโคว์ เบียลา ตัวตบหัวเสา
13 ซาซิสกา ฮิปเป 16 มกราคม ค.ศ. 1991 185 315 292 เช็กเกีย วีเค โพรสเตอจ๊อบส์ ตัวตบหัวเสา
14 มากาเรตตา โคเซส 30 ตุลาคม ค.ศ. 1986 195 309 297 - ตัวตบหัวเสา
15 ลิซ่า ทอมสัน 20 สิงหาคม ค.ศ. 1985 172 290 285 - ตัวรับอิสระ
16 เลนา มอลเลอว์ 6 มกราคม ค.ศ. 1990 188 312 297 อิตาลี อะจิล โนเวรา บอลกลาง
17 คารินา อเลนบลอกซ์ 22 กันยายน ค.ศ. 1994 190 310 291 เยอรมนี ซิคเวอร์ริเนอร์ เอสซี ตัวตบหัวเสา
18 เลจินา เวอร์ชาตจ์ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1983 186 302 294 เยอรมนี วีซี เวสซบาเดน บอลกลาง
19 สเวนจา อิกเกิลเฮด 20 เมษายน ค.ศ. 1988 182 304 288 เยอรมนี อลิอันซ์ เอ็มทีวี สตุ๊ดการ์ท ตัวตบหัวเสา
20 มารีน อะพิตซ์ 26 มีนาคม ค.ศ. 1987 183 295 284 เยอรมนี เดสซิเนอร์ เอสซี ตัวเซต

รางวัล

[แก้]

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่ 3    อันดับที่ 4

เยอรมนีตะวันออก เยอรมนีตะวันออก
ปี เข้าถึงรอบ อันดับที่
สหภาพโซเวียต 1952 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ฝรั่งเศส 1956 อันดับที่ 7
บราซิล 1960 ไม่ผ่านการคัดเลือก
สหภาพโซเวียต 1962 อันดับที่ 7
ญี่ปุ่น 1967 ไม่ผ่านการคัดเลือก
บัลแกเรีย 1970 อันดับที่ 10
เม็กซิโก 1974 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 4
สหภาพโซเวียต 1978 อันดับที่ 8
เปรู 1982 ไม่ผ่านการคัดเลือก
เชโกสโลวาเกีย 1986 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 4
จีน 1990 อันดับที่ 12
สรุป 2/11 7/11
เยอรมนีตะวันตก เยอรมนีตะวันตก
ปี เข้าถึงรอบ อันดับที่
สหภาพโซเวียต 1952 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ฝรั่งเศส 1956 อันดับที่ 16
บราซิล 1960 อันดับที่ 10
สหภาพโซเวียต 1962 อันดับที่ 13
ญี่ปุ่น 1967 ไม่ผ่านการคัดเลือก
บัลแกเรีย 1970 ไม่ผ่านการคัดเลือก
เม็กซิโก 1974 อันดับที่ 19
สหภาพโซเวียต 1978 อันดับที่ 18
เปรู 1982 อันดับที่ 14
เชโกสโลวาเกีย 1986 อันดับที่ 13
จีน 1990 อันดับที่ 13
สรุป 0/11 8/11

เยอรมนี เยอรมนี
ปี เข้าถึงรอบ อันดับที่
บราซิล 1994 อันดับที่ 5
ญี่ปุ่น 1998 อันดับที่ 13
เยอรมนี 2002 อันดับที่ 10
ญี่ปุ่น 2006 อันดับที่ 11
ญี่ปุ่น 2010 อันดับที่ 7
สรุป 2/16 5/16

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่ 3    อันดับที่ 4

วอลเลย์บอลเวิลด์กรังด์ปรีซ์
ปี เข้าถึงรอบ อันดับที่
ฮ่องกง 1993 อันดับที่ 8
จีน 1994 อันดับที่ 10
จีน 1995 อันดับที่ 8
จีน 1996 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ญี่ปุ่น 1997
ฮ่องกง 1998
จีน 1999
ฟิลิปปินส์ 2000
มาเก๊า 2001 อันดับที่ 8
ฮ่องกง 2002 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 3
อิตาลี 2003 อันดับที่ 7
อิตาลี 2004 อันดับที่ 6
ญี่ปุ่น 2005 อันดับที่ 10
อิตาลี 2006 ไม่ผ่านการคัดเลือก
จีน 2007
ญี่ปุ่น 2008 อันดับที่ 8
ญี่ปุ่น 2009 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 3
จีน 2010 อันดับที่ 9
มาเก๊า 2011 อันดับที่ 13
จีน 2012 อันดับที่ 7
ญี่ปุ่น 2013 อันดับที่ 11
ญี่ปุ่น 2014 อันดับที่ 10
ญี่ปุ่น 2015 อันดับที่ 7
ญี่ปุ่น 2016 อันดับที่ 12
สรุป 2/21 14/21