ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลชายทีมชาติแคนาดา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แคนาดา
สมาคมVolleyball Canada
สมาพันธ์นอร์เซกา
หัวหน้าผู้ฝึกสอนJulien Boucher
อันดับเอฟไอวีบี12 (ณ เดือนเมษายน ค.ศ. 2022)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
ชุดที่ 3
โอลิมปิกฤดูร้อน
เข้าแข่งขัน3 (ครั้งแรกเมื่อ 1976)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 4 (1984)
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน10 (ครั้งแรกเมื่อ 1974)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 7 (2014)
www.volleyball.ca
วอลเลย์บอลชายทีมชาติแคนาดา
เหรียญรางวัล
แพนอเมริกันเกมส์
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1979 ซานฮวน ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 1999 วินนิเพก ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2015 โทรอนโต ทีม

วอลเลย์บอลชายทีมชาติแคนาดา (อังกฤษ: Canada men's national volleyball team; ฝรั่งเศส: Équipe du Canada de volley-ball) เป็นตัวแทนของประเทศแคนาดาในการการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ อยู่ภายใต้การควบคุมของวอลเลย์บอลแคนาดา ทีมแคนาดาได้อันดับที่ 3 ในการแข่งขันแพนอเมริกันเกมส์ ปี 1979, 1999 และ 2015

รางวัล

[แก้]

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่ 3    อันดับที่ 4

โอลิมปิกฤดูร้อน

[แก้]

  ชนะเลิศ    รองชนะเลิศ    อันดับที่ 3    อันดับที่ 4

กีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ แพ้ เซ็ทชนะ เซ็ทแพ้
ประเทศญี่ปุ่น 1964 ไม่ผ่านการคัดเลือก
เม็กซิโก 1968
เยอรมนีตะวันตก 1972
ประเทศแคนาดา 1976 รอบแรก อันดับที่ 9 4 0 4 0 12
สหภาพโซเวียต 1980 คว่ำบาตร
สหรัฐอเมริกา 1984 รอบรองชนะเลิศ อันดับที่ 4 6 3 3 10 9
ประเทศเกาหลีใต้ 1988 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศสเปน 1992 รอบชิงอันดับที่ 9–10 อันดับที่ 10 6 1 5 11 15
สหรัฐอเมริกา 1996 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศออสเตรเลีย 2000
ประเทศกรีซ 2004
ประเทศจีน 2008
สหราชอาณาจักร 2012
ประเทศบราซิล 2016 รอบก่อนรองชนะเลิศ อันดับที่ 5 6 3 3 10 10
ประเทศญี่ปุ่น 2020 รอบก่อนรองชนะเลิศ อันดับที่ 8 6 2 4 9 12
รวม 0 ครั้ง 5/15 28 9 19 40 58

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก

[แก้]
วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ แพ้ เซ็ทชนะ เซ็ทแพ้
เชโกสโลวาเกีย 1949 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศบัลแกเรีย 1952
ประเทศฝรั่งเศส 1956
ประเทศบราซิล 1960
สหภาพโซเวียต 1962
เชโกสโลวาเกีย 1966 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศบัลแกเรีย 1970
เม็กซิโก 1974 รอบจัดอันดับ 19–24 อันดับที่ 20 10 5 5 18 20
ประเทศอิตาลี 1978 รอบจัดอันดับ 17–20 อันดับที่ 20 9 3 6 12 18
ประเทศอาร์เจนตินา 1982 รอบจัดอันดับ 9–12 อันดับที่ 11 9 4 5 16 18
ประเทศฝรั่งเศส 1986 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศบราซิล 1990 รอบจัดอันดับ 9–12 อันดับที่ 12 6 1 5 3 16
ประเทศกรีซ 1994 รอบสุดท้าย อันดับที่ 9 4 1 3 5 9
ประเทศญี่ปุ่น 1998 รอบจัดอันดับ 9–12 อันดับที่ 12 12 4 8 15 28
ประเทศอาร์เจนตินา 2002 รอบแรก อันดับที่ 17 3 1 2 4 7
ประเทศญี่ปุ่น 2006 รอบจัดอันดับ 9–12 อันดับที่ 11 11 5 6 18 24
ประเทศอิตาลี 2010 รอบแรก อันดับที่ 19 3 1 2 3 7
ประเทศโปแลนด์ 2014 รอบสอง อันดับที่ 7 9 6 3 18 13
ประเทศอิตาลีประเทศบัลแกเรีย 2018 รอบสอง 9th 8 5 3 18 14
ประเทศโปแลนด์ประเทศสโลวีเนีย 2022 รอบแรก 17th 3 1 2 3 6
รวม 0 ครั้ง 12/20 87 37 50 133 180
ปี อันดับ
ประเทศญี่ปุ่น 1995 9
ประเทศญี่ปุ่น 1999 8
ประเทศญี่ปุ่น 2003 7
ประเทศญี่ปุ่น 2007 ไม่ผ่านการคัดเลือก
ประเทศญี่ปุ่น 2011
ประเทศญี่ปุ่น 2015

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก

[แก้]
ปี อันดับ
ประเทศญี่ปุ่น 1990 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศอิตาลี 1991 10
ประเทศอิตาลี 1992 7
ประเทศบราซิล 1993 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศอิตาลี 1994
ประเทศบราซิล 1995
ประเทศเนเธอร์แลนด์ 1996
ประเทศรัสเซีย 1997
ประเทศอิตาลี 1998
ประเทศอาร์เจนตินา 1999 8
ประเทศเนเธอร์แลนด์ 2000 11
ปี อันดับ
ประเทศโปแลนด์ 2001 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศบราซิล 2002
ประเทศสเปน 2003
ประเทศอิตาลี 2004
ประเทศเซอร์เบียและมอนเตเนโกร 2005
ประเทศรัสเซีย 2006
ประเทศโปแลนด์ 2007 13
ประเทศบราซิล 2008 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
เซอร์เบีย 2009
ประเทศอาร์เจนตินา 2010
ประเทศโปแลนด์ 2011
ปี อันดับ
ประเทศบัลแกเรีย 2012 12
ประเทศอาร์เจนตินา 2013 5
ประเทศอิตาลี 2014 13
ประเทศบราซิล 2015 15
ประเทศโปแลนด์ 2016 13
ประเทศบราซิล 2017 3

วอลเลย์บอลชิงแชมป์นอร์เซกา

[แก้]
ปี อันดับ
เม็กซิโก 1969 4
เม็กซิโก 1973 3
คิวบา 1979 2
เม็กซิโก 1981 3
สหรัฐอเมริกา 1983 2
สาธารณรัฐโดมินิกัน 1985 3
คิวบา 1987 3
ปวยร์โตรีโก 1989 2
ประเทศแคนาดา 1991 3
สหรัฐอเมริกา 1993
ประเทศแคนาดา 1995
ปี อันดับ
คิวบา 1997 3
เม็กซิโก 1999
บาร์เบโดส 2001
สหรัฐอเมริกา 2003 2
ประเทศแคนาดา 2005 3
สหรัฐอเมริกา 2007 4
ปวยร์โตรีโก 2009 4
ปวยร์โตรีโก 2011 3
ประเทศแคนาดา 2013 2
เม็กซิโก 2015

แพนอเมริกันเกมส์

[แก้]
ปี อันดับ
เม็กซิโก 1955 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
สหรัฐอเมริกา 1959 6
ประเทศบราซิล 1963 8
ประเทศแคนาดา 1967 6
โคลอมเบีย 1971 9
เม็กซิโก 1975 6
ปวยร์โตรีโก 1979 3
เวเนซุเอลา 1983 5
สหรัฐอเมริกา 1987 5
คิวบา 1991 6
ประเทศอาร์เจนตินา 1995 5
ประเทศแคนาดา 1999 3
สาธารณรัฐโดมินิกัน 2003 5
ประเทศบราซิล 2007 7
เม็กซิโก 2011 6
ประเทศแคนาดา 2015 3

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]