ข้ามไปเนื้อหา

รถไฟใต้ดินวอชิงตัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก วอชิงตันเมโทร)
วอชิงตัน เมโทร
Black and white Washington Metro logo with a big white M above smaller white letters spelling Metro
Washington Metro's Farragut West station in April 2018
Washington Metro's Farragut West station in April 2018
ข้อมูลทั่วไป
ที่ตั้งเขตมหานครวอชิงตัน
ประเภทระบบขนส่งมวลชนเร็ว
จำนวนสาย6
หมายเลขสาย
จำนวนสถานี98
ผู้โดยสารต่อวัน475,000 (วันธรรมดา, Q3 2023)
ผู้โดยสารต่อปี93,049,300 (2022)
ผู้อำนวยการแรนดี คลาร์ก
สำนักงานใหญ่วอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐ
เว็บไซต์www.wmata.com/service/rail/ แก้ไขสิ่งนี้ที่วิกิสนเทศ
การให้บริการ
เริ่มดำเนินงาน27 มีนาคม 1976; 48 ปีก่อน (1976-03-27)
ผู้ดำเนินงานองค์การขนส่งมวลชนมหานครวอชิงตัน (WMATA)
ลักษณะระดับดิน, ยกระดับ และใต้ดิน
จำนวนขบวน1,318
ความยาวขบวน6 หรือ 8 ตู้
ระยะห่าง6–12 นาทีในชั่วโมงเร่งด่วน; 6–15 นาทีนอกชั่วโมงเร่งด่วน
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทาง129 mi (208 km)
จำนวนราง2
รางกว้าง4 ft 8 14 in (1,429 mm)[1]
รัศมีความโค้ง225 ft (68.6 m)[1]
การจ่ายไฟฟ้า750 V DC รางที่สาม
ความเร็วเฉลี่ย33 mph (53 km/h)
ความเร็วสูงสุด75 mph (121 km/h) (ออกแบบ) 59 mph (95 km/h)-65 mph (105 km/h) (ให้บริการ)
ผังเส้นทาง
แผนที่

รถไฟใต้ดินวอชิงตัน, เมโทร หรือ เมโทรเรล[2] เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าขนาดใหญ่ในกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เมืองหลวงของสหรัฐอเมริกา ดำเนินการโดยการขนส่งเขตนครหลวงวอชิงตัน (Washington Metropolitan Area Transit Authority, WMATA)[3] ในปัจจุบันมีจำนวนห้าเส้นทาง 86 สถานี ระยะทาง 106.3 ไมล์ (171.1 กิโลเมตร)[4] รถไฟใต้ดินวอชิงตัน เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าที่มีผู้โดยสารหนาแน่นเป็นอันดับที่สองของประเทศรองจากรถไฟใต้ดินนครนิวยอร์ก มีจำนวนเที่ยว 215.3 ล้านเที่ยวต่อปี (พ.ศ. 2551)[5] ในเดือนมิถุนายน 2551 มีจำนวนผู้โดยสาร 19,729,641 เที่ยวต่อวัน[5]

ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2561 รถไฟใต้ดินวอชิงตันประกาศปรับปรุงชานชาลายี่สิบสถานีครอบคลุมทุกสายทางยกเว้นสายสีเงิน[6] เส้นทางสายสีฟ้าและสีเหลืองทางทิศใต้ของท่าอากาศยานแห่งชาติวอชิงตัน โรนัลด์ เรแกน จะปิดให้บริการตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงกันยายน พ.ศ. 2562 ซึ่งจะเป็นการปิดเส้นทางที่นานที่สุดในประวัติศาสตร์ของเมโทร[7] สถานีอื่นเพิ่มเติมจะได้รับการซ่อมแซมระหว่างปี พ.ศ. 2562 ถึง 2564 แต่สายทางที่ผ่านสถานีจะไม่ถูกปิดอย่างสมบูรณ์ โครงการมีงบประมาณค่าใช้จ่าย 300 ถึง 400 ล้านเหรียญและเป็นโครงการขนาดใหญ่ครั้งแรกของรถไฟไต้ดินวอชิงตันนับตั้งแต่เริ่มการก่อสร้าง

โครงข่าย

[แก้]
An actual map with correct distances and geographic placement illustrates how all lines intersect and have many stations in the downtown area, and extend with more widely spaced stations far out into the neighboring areas.
แผนที่เส้นทางตามภูมิศาสตร์
รูปแบบการให้บริการรถไฟใต้ดินวอชิงตันปัจจุบัน
สาย เปิดให้บริการ สถานี ระยะทาง ปลายทาง
mi km ตะวันตก/ใต้ ตะวันออก/เหนือ
สายสีแดง 29 มีนาคม ค.ศ. 1976 (1976-03-29) 27 31.9 51.3 เชดดีโกรฟ เกลนมอนต์
สายสีส้ม 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1978 (1978-11-20) 26 26.4 42.5 เวียนนา นิวแคร์รอลล์ตัน
สายสีน้ำเงิน 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1977 (1977-07-01) 28 30.3 48.8 แฟรงโคเนีย–สปริงฟีลด์ ดาวน์ทาวน์ลาร์โก
สายสีเขียว 28 ธันวาคม ค.ศ. 1991 (1991-12-28) 21 23.0 37.0 บรานช์อีฟนู กรีนเบลต์
สายสีเหลือง 30 มีนาคม ค.ศ. 1983 (1983-03-30) 13 10.7 17.2 ฮันติงตัน เมานต์เวอร์นอนสแกวร์
สายสีเงิน 26 กรกฎาคม ค.ศ. 2014 (2014-07-26) 34 41.1 66.1 แอชเบิร์น ดาวน์ทาวน์ลาร์โก

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "WMATA Summary – Level Rail Car Performance For Design And Simulation" (PDF). Washington Metropolitan Area Transit Authority. October 13, 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ February 9, 2014. สืบค้นเมื่อ October 15, 2014.
  2. Schrag, Zachary (2006). "Introduction". The Great Society Subway: A History of the Washington Metro. Baltimore, Maryland: The Johns Hopkins University Press. p. 9. ISBN 0-8018-8246-X.Google Books search/preview
  3. [[Washington Metropolitan Area Transit Authority, Frequently Asked Questions เก็บถาวร 2016-11-18 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, accessed July 2009: "What do I need to know to build near Metro property? Metro reviews designs and monitors construction of projects adjacent to Metrorail and Metrobus property..."
  4. "WMATA Facts" (PDF). WMATA. July 2009. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-12-26. สืบค้นเมื่อ March 18, 2010.
  5. 5.0 5.1 "215 million people rode Metro in fiscal year 2008". WMATA. July 8, 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-03. สืบค้นเมื่อ January 27, 2009.
  6. "Metro wants to rebuild 20 station platforms over three years, creating SafeTrack-like disruptions". Washington Post. May 7, 2018. สืบค้นเมื่อ February 19, 2019.
  7. "Metro plans 'summer shutdown' on Blue, Yellow lines next year". WTOP. May 7, 2018. สืบค้นเมื่อ February 19, 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
  1. Wheaton and Forest Glen stations are shown with a single island platform when they actually have two separate inside platforms connected by a passageway. The flying junction at Rosslyn is shown with the incorrect track on top. (Although the platforms are shown correctly.) It fails to show the tail tracks at Huntington station.