ลีโวนอร์เจสเตรล
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ชื่อทางการค้า | Plan B, ฯลฯ |
ชื่ออื่น | LNG; d-Norgestrel; d(–)-Norgestrel; D-Norgestrel; WY-5104; SH-90999; NSC-744007; 18-Methylnorethisterone; 17α-Ethynyl-18-methyl-19-nortestosterone; 17α-Ethynyl-18-methylestr-4-en-17β-ol-3-one; 13β-Ethyl-17α-hydroxy-18,19-dinorpregn-4-en-20-yn-3-one |
AHFS/Drugs.com | โมโนกราฟ |
MedlinePlus | a610021 |
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ | |
ช่องทางการรับยา | กิน, แปะผิวหนัง, สอดมดลูก, ฝังใต้ผิวหนัง |
ประเภทยา | โปรเจสโตเจน; โปรเจสติน |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย |
|
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | 95% (ช่วง 85–100%)[2][4] |
การจับกับโปรตีน | 98% (50% จับกับอัลบูมิน, 48% จับกับ SHBG)[2] |
การเปลี่ยนแปลงยา | Liver (reduction, hydroxylation, conjugation)[2][3] |
สารซึ่งได้หลังการเปลี่ยนแปลงยา | • 5α-Dihydro-LNG[2] |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 24–32 hours[2] |
การขับออก | ปัสสาวะ: 20–67% อุจจาระ: 21–34%[3] |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
IUPHAR/BPS | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
UNII | |
KEGG | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.011.227 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C21H28O2 |
มวลต่อโมล | 312.453 g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
จุดหลอมเหลว | 235 ถึง 237 องศาเซลเซียส (455 ถึง 459 องศาฟาเรนไฮต์) |
| |
| |
(verify) | |
ลีโวนอร์เจสเตรล (อังกฤษ: Levonorgestrel) เป็นยาฮอร์โมนที่ใช้ประโยชน์เพื่อการคุมกำเนิด[5] ลีโวนอร์เจสเตรลผสมเอสโตรเจนใช้เป็นยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดผสม[6] ลีโวนอร์เจสเตรลในฐานะยาคุมกำเนิดฉุกเฉินจำหน่ายในชื่อการค้า แพลนบี (Plan B) และชื่ออื่น ๆ โดยจะใช้ได้ผลภายใน 72 ชั่วโมงหลังมีเพศสัมพันธ์เท่านั้น ในทางกลับกันยูลิพริสตัลอะซีเตตสามารถใช้ได้ผลได้ภายใน 120 ชั่วโมง (5 วัน)[5] ยาจะออกฤทธิ์คุมกำเนิดได้น้อยเมื่อเวลาผ่านไปนับตั้งแต่การมีเพศสัมพันธ์ และไม่มีผลหากตั้งครรภ์แล้ว (เกิดการฝังตัวของเอมบริโอ)[5] ยาสามารถลดการตั้งครรภ์ลงได้ 57 ถึง 93%[7] ส่วนลีโวนอร์เจสเตรลในรูปอุปกรณ์สอดมดลูก (IUD) เช่น มิเรอนา (Mirena) สามารถใช้ป้องกันการตั้งครรภ์ได้ในระยะยาว[5] A levonorgestrel-releasing implant is also available in some countries.[8]
ผลข้างเคียงหลักคือคลื่นไส้ และสามารถพบอาการคัดตึงหน้าอก, ปวดหัว และ การเพิ่มขึ้น, ลดลง หรือ เลือดออกผิดปกติในประจำเดือนได้[5] ปัจจุบันยังไม่ปรากฏหลักฐานว่ายาทำอันตรายต่อทารกในครรภ์หากทานขณะตั้งครรภ์[5] รวมถึงปลอดภัย สามารถทานไ้ด้ขณะให้นมลูก[5] ยาคุมกำเนิดที่มีส่วนประกอบของลีโวนอร์เจสเตรลไม่ช่วยลดความเสี่ยงโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์[5] ยาทำให้เกิดการคุมกำเนิดโยการยับยั้งออวูเลชั่น และช่วยปิดปากมดลูกจึงป้องกันไม่ให้สเปิร์มเข้าไปได้[5]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 "Levonorgestrel Use During Pregnancy". Drugs.com. 23 March 2020. สืบค้นเมื่อ 29 June 2020.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อpmid16112947
- ↑ 3.0 3.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อShoupeHaseltine2012
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อpmid8842581
- ↑ 5.0 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.7 5.8 "Progestins (Etonogestrel, Levonorgestrel, Norethindrone)". The American Society of Health-System Pharmacists. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-07. สืบค้นเมื่อ Aug 21, 2015.
- ↑ Postgraduate Gynecology. Jaypee Brothers Medical Pub. 2011. p. 159. ISBN 9789350250822. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-26.
- ↑ Gemzell-Danielsson, K (November 2010). "Mechanism of action of emergency contraception". Contraception. 82 (5): 404–9. doi:10.1016/j.contraception.2010.05.004. PMID 20933113.
- ↑ "Chapter 1". Research on reproductive health at WHO : biennial report 2000-2001. Geneva: World health organization. 2002. ISBN 9789241562089. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-09-26.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Levonelle manufacturer's product information from Schering
- Monograph for levonorgestrel - Uk Medicines Information
- "Levonorgestrel". Drug Information Portal. U.S. National Library of Medicine.