ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2564–2565
ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2564–2565 | |
---|---|
แผนที่สรุปฤดูกาล | |
ขอบเขตฤดูกาล | |
ระบบแรกก่อตัว | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 |
ระบบสุดท้ายสลายตัว | 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 |
พายุมีกำลังมากที่สุด | |
ชื่อ | เวอร์นัน |
• ลมแรงสูงสุด | 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที) |
• ความกดอากาศต่ำที่สุด | 950 hPa (มิลลิบาร์) |
สถิติฤดูกาล | |
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน | 32 ลูก |
พายุไซโคลนเขตร้อน | 10 ลูก |
พายุไซโคลนกำลังแรง | 2 ลูก |
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด | 2 คน |
ความเสียหายทั้งหมด | > 36,000ดอลลาร์สหรัฐ (ค่าเงิน USD ปี 2022) |
ฤดูพายุไซโคลนภูมิภาคออสเตรเลีย พ.ศ. 2564–2565 เป็นฤดูกาลในอดีตที่เคยมีการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อน ภายในมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทรแปซิฟิก ที่ระหว่าง 90°ตะวันออก ถึง 160°ตะวันออก โดยฤดูกาลนี้ได้เริ่มนับอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 และไปสิ้นสุดในวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2565 อย่างไรก็ตาม พายุหมุนเขตร้อนสามารถก่อตัวได้ตลอดเวลาตั้งแต่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ถึง 30 มิถุนายน พ.ศ. 2565 และจะถูกนับรวมในฤดูกาลนี้ด้วย ในระหว่างฤดูกาล พายุหมุนเขตร้อนจะถูกติดตามอย่างเป็นทางการโดยสำนักอุตุนิยมวิทยาออสเตรเลีย (BOM), สำนักอุตุนิยมวิทยา สภาพภูมิอากาศ และธรณีฟิสิกส์แห่งอินโดนีเซีย (BMKG) ในจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย และศูนย์บริการสภาพอากาศแห่งชาติปาปัวนิวกินี ในพอร์ตมอร์สบี ส่วนศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วมของกองทัพเรือสหรัฐ (JTWC) ในรัฐฮาวาย สหรัฐ และศูนย์บริการทางอุตุนิยมวิทยาแห่งชาติอื่น ๆ ประกอบด้วย เมทเซอร์วิซแห่งประเทศนิวซีแลนด์, เมเตโอ-ฟร็องส์แห่งประเทศฝรั่งเศสบนเกาะเรอูนียง และกรมอุตุนิยมวิทยาฟีจี ก็ต่างเฝ้าติดตามส่วนของแอ่งในระหว่างฤดูกาลด้วยแบบไม่เป็นทางการ
ภาพรวมฤดูกาล
[แก้]
หย่อมความกดอากาศต่ำ (≤63 กม./ชม.) | พายุไซโคลนกำลังแรงระดับ 3 (118–159 กม./ชม.) |
พายุไซโคลนระดับ 1 (63–88 กม./ชม.) | พายุไซโคลนกำลังแรงระดับ 4 (160–200 กม./ชม.) |
พายุไซโคลนระดับ 2 (89–117 กม./ชม.) | พายุไซโคลนกำลังแรงระดับ 5 (≥200 กม./ชม.) |
พายุ
[แก้]พายุไซโคลนแพดดี
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 17 – 23 พฤศจิกายน | ||
ความรุนแรง | 75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 992 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.29 นิ้วปรอท) |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน 03U
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 22 – 28 พฤศจิกายน | ||
ความรุนแรง | ไม่ทราบความเร็วลม 1006 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.71 นิ้วปรอท) |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
พายุไซโคลนเตอราไต
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 30 พฤศจิกายน – 11 ธันวาคม | ||
ความรุนแรง | 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 998 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.47 นิ้วปรอท) |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
พายุไซโคลนรูบี
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 9 – 13 ธันวาคม (ออกไปนอกแอ่ง) | ||
ความรุนแรง | 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 982 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29 นิ้วปรอท) |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
พายุไซโคลนเซท
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 24 ธันวาคม – 6 มกราคม | ||
ความรุนแรง | 110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 983 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.03 นิ้วปรอท) |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
พายุไซโคลนทิฟฟานี
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 8 – 17 มกราคม | ||
ความรุนแรง | 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 989 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.21 นิ้วปรอท) |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน (บัตซีราย)
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 23 – 25 มกราคม (ออกไปนอกแอ่ง) | ||
ความรุนแรง | ไม่ทราบความเร็วลม 1003 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.62 นิ้วปรอท) |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน 16U
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 29 มกราคม – 3 กุมภาพันธ์ (ออกไปนอกแอ่ง) | ||
ความรุนแรง | 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 995 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.38 นิ้วปรอท) |
วันที่ 29 มกราคม สำนักอุตุนิยมวิทยาออสเตรเลียเริ่มติดตามหย่อมความกดอากาศต่ำเขตร้อนลูกหนึ่ง โดยกำหนดรหัสให้กับหย่อมความกดอากาศต่ำดังกล่าวว่า 16U ต่อมาในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ หย่อมความกดอากาศต่ำ 16U ได้เคลื่อนตัวออกจากแอ่งและเข้าสู่แอ่งแปซิฟิกใต้
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน 14U
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 30 มกราคม – 6 กุมภาพันธ์ | ||
ความรุนแรง | ไม่ทราบความเร็วลม 1003 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.62 นิ้วปรอท) |
หย่อมความกดอากาศต่ำเขตร้อน 14U ก่อตัวขึ้นในวันที่ 30 มกราคมและสลายตัวไปในวันที่ 6 กุมภาพันธ์
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน 17U
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 5 – 14 กุมภาพันธ์ | ||
ความรุนแรง | ไม่ทราบความเร็วลม ไม่ทราบความกดอากาศ |
หย่อมความกดอากาศต่ำเขตร้อน 17U ก่อตัวขึ้นในวันที่ 5 กุมภาพันธ์และถูกกล่าวถึงเป็นครั้งสุดท้ายในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ เนื่องจากเคลื่อนตัวออกจากแอ่งไป
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน 18U (โดวี)
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 5 – 6 กุมภาพันธ์ (ออกไปนอกแอ่ง) | ||
ความรุนแรง | ไม่ทราบความเร็วลม ไม่ทราบความกดอากาศ |
หย่อมความกดอากาศต่ำเขตร้อน 18U ก่อตัวขึ้นในวันที่ 5 กุมภาพันธ์ใกล้กับนิวแคลิโดเนีย ต่อมาในวันรุ่งขึ้นหย่อมความกดอากาศต่ำ 18U ได้เคลื่อนตัวข้ามเข้าสู่แอ่งแปซิฟิกใต้ และทวีกำลังแรงขึ้นเป็นพายุไซโคลนโดวีในวันที่ 9 กุมภาพันธ์[1]
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน 19U (เฟซีเล)
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุดีเปรสชันในร่องมรสุม | |||
| |||
ระยะเวลา | 13 – 16 กุมภาพันธ์ (ออกไปนอกแอ่ง) | ||
ความรุนแรง | 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 999 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.5 นิ้วปรอท) |
วันที่ 11 กุมภาพันธ์ สำนักอุตุนิยมวิทยาออสเตรเลียพยากรณ์ว่า จะมีหย่อมความกดอากาศต่ำเขตร้อนก่อตัวขึ้นภายในอีกไม่กี่วัน บริเวณด้านตะวันออกเฉียงใต้ของเกาะคริสต์มาส จากนั้นตัวระบบได้ก่อตัวขึ้นและได้รับรหัสว่า 19U
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน 20U
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 17 กุมภาพันธ์ – ปัจจุบัน | ||
ความรุนแรง | ไม่ทราบความเร็วลม ไม่ทราบความกดอากาศ |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
พายุไซโคลนกำลังแรงเวอร์นัน
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนกำลังแรงระดับ 4 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 3 (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 23 กุมภาพันธ์ – 26 กุมภาพันธ์ (ออกไปนอกแอ่ง) | ||
ความรุนแรง | 185 กม./ชม. (115 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 950 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.05 นิ้วปรอท) |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน 21U
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 24 กุมภาพันธ์ – 1 มีนาคม | ||
ความรุนแรง | 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (10 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
พายุไซโคลนอานีกา
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 24 กุมภาพันธ์ – 3 มีนาคม | ||
ความรุนแรง | 95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 987 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.15 นิ้วปรอท) |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน 26U
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 27 กุมภาพันธ์ – 4 มีนาคม | ||
ความรุนแรง | 65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (1 นาที) ไม่ทราบความกดอากาศ |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
พายุไซโคลนบิลลี
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 1 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 11 มีนาคม – 17 มีนาคม | ||
ความรุนแรง | 85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 991 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.26 นิ้วปรอท) |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
พายุไซโคลนกำลังแรงชาร์ลอตต์
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนกำลังแรงระดับ 4 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 15 มีนาคม – 26 มีนาคม | ||
ความรุนแรง | 165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 956 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 28.23 นิ้วปรอท) |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน 33U
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 16 เมษายน – 19 เมษายน | ||
ความรุนแรง | 45 กม./ชม. (30 ไมล์/ชม.) (1 นาที) 1005 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.68 นิ้วปรอท) |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความกดอากาศต่ำเขตร้อน 34U
[แก้]บริเวณความกดอากาศต่ำเขตร้อน (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
| |||
ระยะเวลา | 23 เมษายน – 29 เมษายน | ||
ความรุนแรง | 55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 996 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29.41 นิ้วปรอท) |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
พายุไซโคลนคาริม
[แก้]พายุไซโคลนเขตร้อนระดับ 2 (มาตราออสเตรเลีย) | |||
---|---|---|---|
พายุโซนร้อน (SSHWS) | |||
| |||
ระยะเวลา | 7 พฤษภาคม (เข้ามาในแอ่ง) – 11 พฤษภาคม | ||
ความรุนแรง | 100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (10 นาที) 982 เฮกโตปาสกาล (มิลลิบาร์ 29 นิ้วปรอท) |
ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
รายชื่อพายุ
[แก้]สำนักอุตุนิยมวิทยา
[แก้]ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551–52 มีรายชื่อพายุเพียงชุดเดียวที่สำนักอุตุนิยมวิทยาออสเตรเลียประกาศใช้ โดยสำนักอุตุนิยมวิทยาออสเตรเลียได้แบ่งศูนย์เตือนภัยพายุหมุนเขตร้อนในประเทศออสเตรเลียออกเป็นสามศูนย์ ได้แก่ ศูนย์เพิร์ท, ศูนย์ดาร์วิน และศูนย์บริสเบน[2] โดยมีหน้าที่ตรวจสอบพายุหมุนเขตร้อนทั้งหมดที่ก่อตัวในภูมิภาคออสเตรเลีย รวมถีงทำหน้าที่ออกคำแนะนำพิเศษให้ทั้งพื้นที่รับผิดชอบของ TCWC จาการ์ตาหรือ TCWC พอร์ตมอร์สบีด้วย โดยในฤดูกาลนี้มีชื่อของสำนักอุตุนิยมวิทยาแห่งออสเตรเลียถูกใช้ 8 ชื่อ ได้แก่
|
|
TCWC จาการ์ตา
[แก้]ศูนย์เตือนพายุหมุนเขตร้อนในจาการ์ตา ทำการติดตามพายุหมุนเขตร้อนในขอบเขตตั้งแต่เส้นศูนย์สูตรลงไปทางใต้ถึงเส้นขนานที่ 11 องศาใต้ และระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 90 องศาตะวันออกไปจนถึง 145 องศาตะวันออก เมื่อพายุดีเปรสชันเขตร้อนใดทวีกำลังเป็นพายุไซโคลนในขอบเขตรับผิดชอบของ JTWC จาการ์ตานี้ พายุลูกนั้นจะได้รับชื่อจากทางศูนย์ฯ[2] โดยในฤดูกาลนี้มีชื่อของ TCWC จาการ์ตาถูกใช้ 1 ชื่อ คือ
|
TCWC พอร์ตมอร์สบี
[แก้]พายุหมุนเขตร้อนที่ก่อตัวขึ้นในระหว่างขอบเขตตั้งแต่เส้นศูนย์สูตรลงไปทางใต้จนถึงเส้นขนานที่ 11 องศาใต้ และระหว่างเส้นเมริเดียนที่ 151 องศาตะวันออกไปทางตะวันออกจนถึงเส้นเมริเดียนที่ 160 องศาตะวันออก จะได้รับชื่อจากศูนย์เตือนพายุหมุนเขตร้อนในพอร์ตมอร์สบี ประเทศปาปัวนิวกินี บริเวณนี้บริเวณที่พบการก่อตัวของพายุหมุนเขตร้อนได้ยาก และไม่มีพายุหมุนเขตร้อนก่อตัวและมีกำลังขึ้นจนได้รับชื่อมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2550 แล้ว[3] โดยในฤดูกาลนี้มีไม่มีชื่อของ TCWC พอร์ตมอร์สบีถูกใช้เลย
ผลกระทบ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
[แก้]- รายชื่อฤดูพายุไซโคลนซีกโลกใต้
- ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแปซิฟิก: 2564, 2565
- ฤดูพายุเฮอร์ริเคนแอตแลนติก: 2564, 2565
- ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก: 2564, 2565
- ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย: 2564, 2565
- ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียตะวันตก-ใต้ พ.ศ. 2564–2565
- ฤดูพายุไซโคลนแปซิฟิกใต้ พ.ศ. 2564–2565
- พายุหมุนเขตร้อนในแอตแลนติกใต้
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Tropical Cyclone Dovi Category 1 Tropical Cyclone Warning Number 5 issued 0721 UTC 9 February 2022". RSMC (Fiji Meteorological Service). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-02-09. สืบค้นเมื่อ February 9, 2022.
- ↑ 2.0 2.1 "Tropical Cyclone Operational plan for the South Pacific & Southeast Indian Ocean, 2014 Edition" (PDF). WMO. สืบค้นเมื่อ 2016-06-12.
- ↑ Gary Padgett (2008). "Monthly Global Tropical Cyclone Summary October". Australian Severe Weather. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-04. สืบค้นเมื่อ 2013-07-01.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- สำนักอุตุนิยมวิทยาแห่งออสเตรเลีย เก็บถาวร 2009-11-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ศูนย์เตือนไต้ฝุ่นร่วม เก็บถาวร 2015-08-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ศูนย์เตือนภัยพายุหมุนเขตร้อนจาการ์ตา (อินโดนีเซีย)