รายชื่อโชกุน
นี่คือ รายชื่อโชกุน ที่ปกครองญี่ปุ่นเป็นระยะ ๆ ในฐานะผู้บัญชาการทางทหารจากบรรพบุรุษ[1] ตั้งแต่การก่อตั้งในยุคอาซูกะ ค.ศ. 709 จนกระทั่งรัฐบาลโชกุนโทกูงาวะสิ้นสุดลงใน ค.ศ. 1868
หมายเหตุ: ตำแหน่งโชกุนมีอยู่หลายแบบ ตัวอย่างเช่น โคเซะ โนะ มาโระ ได้ตำแหน่งมุตสึ จินโต โชกุน (ญี่ปุ่น: 陸奥鎮東将軍; โรมาจิ: Mutsu Chintō Shōgun) คิ โนะ โคซามิ ได้ตำแหน่งเซโต ไทโชกุน (ญี่ปุ่น: 征東大将軍; โรมาจิ: Seitō Taishōgun)[2] ใน ค.ศ. 789 ซึ่งเป็นตำแหน่งที่สำคัญน้อยกว่า เซ-อิ ไทโชกุน โอโตโมะ โนะ โอโตมาโระ เป็นคนแรกที่ได้ตำแหน่งเซอิ ไทโชกุน (ญี่ปุ่น: 征夷大将軍; โรมาจิ: Seii Taishōgun)
ลำดับ | ภาพ | ชื่อ (เกิด–เสียชีวิต) |
เป็นโชกุนตั้งแต่ | จนถึง |
---|---|---|---|---|
1 | โคเซะ โนะ มาโระ |
ค.ศ. 709 | ค.ศ. 709 | |
2 | ทาจิโนฮิ โนะ อากาตาโมริ |
ค.ศ. 720 | ค.ศ. 721 | |
3 | โอโตโมะ โนะ ยากาโมจิ (ป. ค.ศ. 718–785) |
ค.ศ. 784 | ค.ศ. 785 | |
4 | คิ โนะ โคซามิ |
ค.ศ. 788 | ค.ศ. 789 | |
5 | โอโตโมะ โนะ โอโตมาโระ (ค.ศ. 731–809) |
ค.ศ. 793 | ค.ศ. 794 | |
6 | ซากาโนอูเอะ โนะ ทามูรามาโระ (ค.ศ. 758–811) |
ค.ศ. 797 | ค.ศ. 808 | |
7 | ฟุงยะ โนะ วาตามาโระ (ค.ศ. 765–823) |
ค.ศ. 811 | ค.ศ. 816 | |
8 | ฟูจิวาระ โนะ ทาดาบูมิ (ค.ศ. 873–947) |
ค.ศ. 940 | ค.ศ. 940 | |
9 | มินาโมโตะ โนะ โยชินากะ (ค.ศ. 1154–1184) |
ค.ศ. 1184 | ค.ศ. 1184 |
รัฐบาลโชกุนคามากูระ (ค.ศ. 1192–1333)
[แก้]ลำดับ | ภาพ | ชื่อ (เกิด–เสียชีวิต) |
เป็นโชกุนตั้งแต่ | จนถึง |
---|---|---|---|---|
1 | มินาโมโตะ โนะ โยริโตโมะ (ค.ศ. 1147–1199) |
ค.ศ. 1192 | ค.ศ. 1199 | |
2 | มินาโมโตะ โนะ โยริอิเอะ (ค.ศ. 1182–1204) |
ค.ศ. 1202 | ค.ศ. 1203 | |
3 | มินาโมโตะ โนะ ซาเนโตโมะ (ค.ศ. 1192–1219) |
ค.ศ. 1203 | ค.ศ. 1219 | |
4 | คูโจ โยริตสึเนะ (ค.ศ. 1218–1256) |
ค.ศ. 1226 | ค.ศ. 1244 | |
5 | คูโจ โยริตสึงุ (ค.ศ. 1239–1256) |
ค.ศ. 1244 | ค.ศ. 1252 | |
6 | เจ้าชายมุเนตากะ (ค.ศ. 1242–1274) |
ค.ศ. 1252 | ค.ศ. 1266 | |
7 | เจ้าชายโคเรยาซุ (ค.ศ. 1264–1326) |
ค.ศ. 1266 | ค.ศ. 1289 | |
8 | เจ้าชายฮิซาอากิ (ค.ศ. 1276–1328) |
ค.ศ. 1289 | ค.ศ. 1308 | |
9 | เจ้าชายโมริกูนิ (ค.ศ. 1301–1333) |
ค.ศ. 1308 | ค.ศ. 1333 |
การฟื้นฟูเค็มมุ (ค.ศ. 1333–1336)
[แก้]ลำดับ | ภาพ | ชื่อ (เกิด–เสียชีวิต) |
เป็นโชกุนตั้งแต่ | จนถึง |
---|---|---|---|---|
1 | เจ้าชายโมริโยชิ (ค.ศ. 1308–1335) |
ค.ศ. 1333 | ค.ศ. 1333 | |
2 | เจ้าชายนารินางะ (ค.ศ. 1326 – ป. 1337–44) |
ค.ศ. 1335 | ค.ศ. 1336 |
รัฐบาลโชกุนอาชิกางะ (ค.ศ. 1336–1573)
[แก้]ลำดับ | ภาพ | ชื่อ (เกิด–เสียชีวิต) |
เป็นโชกุนตั้งแต่ | จนถึง |
---|---|---|---|---|
1 | อาชิกางะ ทากาอูจิ (ค.ศ. 1305–1358) |
ค.ศ. 1338 | ค.ศ. 1358 | |
2 | อาชิกางะ โยชิอากิระ (ค.ศ. 1330–1367) |
ค.ศ. 1359 | ค.ศ. 1367 | |
3 | อาชิกางะ โยชิมิตสึ (ค.ศ. 1358–1408) |
ค.ศ. 1369 | โดยนิตินัย 1395 โดยพฤตินัย 1408 | |
4 | อาชิกางะ โยชิโมจิ (ค.ศ. 1386–1428) |
ค.ศ. 1395 | โดยนิตินัย ค.ศ. 1423 โดยพฤตินัย ค.ศ. 1428 | |
5 | อาชิกางะ โยชิคาซุ (ค.ศ. 1407–1425) |
ค.ศ. 1423 | ค.ศ. 1425 | |
6 | อาชิกางะ โยชิโนริ (ค.ศ. 1394–1441) |
ค.ศ. 1429 | ค.ศ. 1441 | |
7 | อาชิกางะ โยชิคัตสึ (ค.ศ. 1434–1443) |
ค.ศ. 1442 | ค.ศ. 1443 | |
8 | อาชิกางะ โยชิมาซะ (ค.ศ. 1436–1490) |
ค.ศ. 1449 | โดยนิตินัย ค.ศ. 1474 โดยพฤตินัย ค.ศ. 1490 | |
9 | อาชิกางะ โยชิฮิซะ (ค.ศ. 1465–1489) |
ค.ศ. 1474 | ค.ศ. 1489 | |
10 | อาชิกางะ โยชิตาเนะ (ค.ศ. 1466–1523) |
ค.ศ. 1490 | ค.ศ. 1493 | |
11 | อาชิกางะ โยชิซูมิ (ค.ศ. 1481–1511) |
ค.ศ. 1495 | ค.ศ. 1508 | |
12 | อาชิกางะ โยชิตาเนะ (ค.ศ. 1466–1523) |
ค.ศ. 1508 | ค.ศ. 1522 | |
13 | อาชิกางะ โยชิฮารุ (ค.ศ. 1511–1550) |
ค.ศ. 1522 | โดยนิตินัย ค.ศ. 1547 โดยพฤตินัย ค.ศ. 1550 | |
14 | อาชิกางะ โยชิเตรุ (ค.ศ. 1536–1565) |
ค.ศ. 1547 | ค.ศ. 1565 | |
15 | อาชิกางะ โยชิฮิเดะ (ค.ศ. 1538–1568) |
ค.ศ. 1568 | ค.ศ. 1568 | |
16 | อาชิกางะ โยชิอากิ (ค.ศ. 1537–1597) |
ค.ศ. 1568 | ถูกปลด ค.ศ. 1573 สละราชสมบัติ ค.ศ. 1588 |
ยุคอาซูจิ–โมโมยามะ (ค.ศ. 1568–1600)
[แก้]ลำดับ | ภาพ | ชื่อ (เกิด–เสียชีวิต) |
เป็นโชกุนตั้งแต่ | จนถึง |
---|---|---|---|---|
1 | โอดะ โนบูนางะ (ค.ศ. 1535–1582) |
ค.ศ. 1568 | โดยนิตินัย ค.ศ. 1575 โดยพฤตินัย ค.ศ. 1582 | |
2 | โอดะ โนบูตาดะ (ค.ศ. 1557–1582) |
ค.ศ. 1575 | ค.ศ. 1582 | |
3 | โอดะ ฮิเดโนบุ (ค.ศ. 1580–1605) |
ค.ศ. 1582 | ค.ศ. 1583 | |
1 | โทโยโตมิ ฮิเดโยชิ (ค.ศ. 1537–1598) |
ค.ศ. 1585 | โดยนิตินัย ค.ศ. 1592 โดยพฤตินัย ค.ศ. 1598 | |
2 | โทโยโตมิ ฮิเด็ตสึงุ (ค.ศ. 1568–1595) |
ค.ศ. 1592 | ค.ศ. 1595 | |
3 | โทโยโตมิ ฮิเดโยริ (ค.ศ. 1593–1615) |
ค.ศ. 1598 | โดยนิตินัย ค.ศ. 1603 |
ตั้งแต่ปีค.ศ. 1598 ถึง 1600 รัฐโชกุน โดยพฤตินัย ถูกมอบหน้าที่แก่สภาผู้เฒ่าทั้งห้า (Council of Five Elders)
รัฐบาลโชกุนโทกูงาวะ (ค.ศ. 1600–1868)
[แก้]ลำดับ | ภาพ | ชื่อ (เกิด–เสียชีวิต) |
เป็นโชกุนตั้งแต่ | จนถึง |
---|---|---|---|---|
1 | โทกูงาวะ อิเอยาซุ (ค.ศ. 1543–1616) |
โดยพฤตินัย ค.ศ. 1600 โดยนิตินัย ค.ศ. 1603 |
โดยนิตินัย ค.ศ. 1605 โดยพฤตินัย 1616 | |
2 | โทกูงาวะ ฮิเดตาดะ (ค.ศ. 1579–1632) |
ค.ศ. 1605 | โดยนิตินัย ค.ศ. 1623 โดยพฤตินัย ค.ศ. 1632 | |
3 | โทกูงาวะ อิเอมิตสึ (ค.ศ. 1604–1651) |
ค.ศ. 1623 | ค.ศ. 1651 | |
4 | โทกูงาวะ อิเอ็ตสึนะ (ค.ศ. 1641–1680) |
ค.ศ. 1651 | ค.ศ. 1680 | |
5 | โทกูงาวะ สึนาโยชิ (ค.ศ. 1646–1709) |
ค.ศ. 1680 | ค.ศ. 1709 | |
6 | โทกูงาวะ อิเอโนบุ (ค.ศ. 1662–1712) |
ค.ศ. 1709 | ค.ศ. 1712 | |
7 | โทกูงาวะ อิเอ็ตสึงุ (ค.ศ. 1709–1716) |
ค.ศ. 1713 | ค.ศ. 1716 | |
8 | โทกูงาวะ โยชิมูเนะ (ค.ศ. 1684–1751) |
ค.ศ. 1716 | โดยนิตินัย ค.ศ. 1745 โดยพฤตินัย ค.ศ. 1751 | |
9 | โทกูงาวะ อิเอชิเงะ (ค.ศ. 1712–1761) |
ค.ศ. 1745 | โดยนิตินัย ค.ศ. 1760 โดยพฤตินัย ค.ศ. 1761 | |
10 | โทกูงาวะ อิเอฮารุ (ค.ศ. 1737–1786) |
ค.ศ. 1760 | ค.ศ. 1786 | |
11 | โทกูงาวะ อิเอนาริ (ค.ศ. 1773–1841) |
ค.ศ. 1787 | โดยนิตินัย ค.ศ. 1837 โดยพฤตินัย ค.ศ. 1841 | |
12 | โทกูงาวะ อิเอโยชิ (ค.ศ. 1793–1853) |
ค.ศ. 1837 | ค.ศ. 1853 | |
13 | โทกูงาวะ อิเอซาดะ (ค.ศ. 1824–1858) |
ค.ศ. 1853 | ค.ศ. 1858 | |
14 | โทกูงาวะ อิเอโมจิ (ค.ศ. 1846–1866) |
ค.ศ. 1858 | ค.ศ. 1866 | |
15 | โทกูงาวะ โยชิโนบุ (ค.ศ. 1837–1913) |
ค.ศ. 1867 | ค.ศ. 1868 |
หัวหน้าตระกูลโทกูงาวะหลังบากูฟุ (ค.ศ. 1868–ปัจจุบัน)
[แก้]ในค.ศ. 1882 หัวหน้าตระกูลโทกูงาวะได้ตำแหน่งเจ้าชาย (โคชากุ) ภายใตระบบขุนนาง คาโซกุ และมีสิทธิที่จะนั่งในสภาขุนนางญี่ปุ่น
ลำดับ | ภาพ | ชื่อ (เกิด–เสียชีวิต) |
เป็นหัวหน้าตั้งแต่ | จนถึง |
---|---|---|---|---|
1 | โทกูงาวะ อิเอซาโตะ (ค.ศ. 1863–1940)[a] |
ค.ศ. 1868 | ค.ศ. 1940 | |
2 | โทกูงาวะ อิเอมาซะ (ค.ศ. 1884–1963)[b] |
ค.ศ. 1940 | ค.ศ. 1963 | |
3 | โทกูงาวะ สึเนนาริ (เกิด ค.ศ. 1940) |
ค.ศ. 1963 | ยังดำรงตำแหน่ง |
ศูนย์บัญชาการสูงสุดของฝ่ายสัมพันธมิตร
[แก้]ศูนย์บัญชาการสูงสุด เป็นที่รู้จักอย่างไม่เป็นทางการว่าไกจินโชกุน (ญี่ปุ่น: 外人将軍; โรมาจิ: Gaijin Shōgun) ในระหว่างการครอบครอง[3]
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ ดำรงตำแหน่งเป็นประธานสภาขุนนางญี่ปุ่นตั้งแต่ ค.ศ. 1903 ถึง 1933
- ↑ ดำรงตำแหน่งเป็นประธานสภาขุนนางญี่ปุ่นตั้งแต่ ค.ศ. 1946 ถึง 1947
- ↑ สันนิษฐานว่าควบคุมหลังจากญี่ปุ่นยอมแพ้
- ↑ ถูกปลดภายใต้คำสั่งของประธานาธิบดีทรูแมน
- ↑ รับใช้จนสนธิสัญญาซานฟรานซิสโกมีผลบังคับใช้
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Britannica – Shogunate
- ↑ Friday, 2007:108.
- ↑ Valley, David J. (April 15, 2000). Gaijin Shogun : Gen. Douglas MacArthur Stepfather of Postwar Japan. Title: Sektor Company. ISBN 978-0967817521. สืบค้นเมื่อ 2 June 2017.
สารานุกรม
[แก้]- Friday, Karl (2007). The First Samurai: The Life and Legend of the Warrior Rebel, Taira Masakado. John Wiley and Sons. ISBN 0-471-76082-X.