ข้ามไปเนื้อหา

รัฐผู้คัดเลือกฟัลทซ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
แคว้นฟัลทซ์

ค.ศ. 1085–ค.ศ. 1803
ธงชาติ
ธงชาติ
ตราแผ่นดินของ
ตราแผ่นดิน
หลังจาก ค.ศ. 1512 ดินแดนในพาลาทิเนกรวมตัวเป็นส่วนหนึ่งของสหราชรัฐเลือกตั้งแห่งไรน์ (สีน้ำตาล)
หลังจาก ค.ศ. 1512 ดินแดนในพาลาทิเนกรวมตัวเป็นส่วนหนึ่งของสหราชรัฐเลือกตั้งแห่งไรน์ (สีน้ำตาล)
สถานะแคว้นในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์
เมืองหลวงไฮเดลแบร์ก;
มานน์ไฮม์ ตั้งแต่ ค.ศ. 1720
ภาษาทั่วไปเยอรมัน
ศาสนา
โรมันคาทอลิก;
นิกายคาลวิน (ตั้งแต่ ค.ศ. 1559);
โรมันคาทอลิกอีกครั้ง (ตั้งแต่ ค.ศ. 1685)
การปกครองราชาธิปไตย
ฟัลทซ์กราฟ
(เคานต์พาลาไทน์)
 
• ค.ศ. 1085–1095
ไฮน์ริชที่ 2 แห่งลาค (แรก)
• ค.ศ. 1156–1195
คอนราดแห่งโฮเฮนชเตาเฟิน
• ค.ศ. 1353–1390
รูเปิร์ตที่ 1 (เจ้านครรัฐผู้คัดเลือก คนแรก)
• ค.ศ. 1799–1803
พระเจ้ามักซีมีเลียนที่ 1 โยเซฟแห่งบาวาเรีย, ดยุกแห่งชไวบรึคเคิน (ฟาลซ์กราฟ คนสุดท้าย)
ยุคประวัติศาสตร์ยุคกลาง
• ลดฐานะ
    พาลาไทน์แห่ง
    โลทาริงเกีย
ค.ศ. 1085
ค.ศ. 1356
ค.ศ. 1648
• เข้าเป็นส่วนหนึ่งของบาวาเรีย
ค.ศ. 1777
• ผนวกโดยบาเดิน
27 เมษายน ค.ศ. 1803
12 กรกฎาคม ค.ศ. 1806
ก่อนหน้า
ถัดไป
พาลาทิเนตแห่งโลทาริงเกีย
รัฐผู้คัดเลือกบาเดิน

แคว้นฟัลทซ์กราฟริมไรน์ (เยอรมัน: Pfalzgrafschaft bei Rhein) เป็นแคว้นในจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของฟัลทซ์กราฟริมแม่น้ำไรน์ ต่อมาได้ยกฐานะในปีค.ศ. 1356 ขึ้นเป็น ราชรัฐผู้คัดเลือกแห่งฟัลทซ์ (Kurfürstentum von der Pfalz)

ฟัลทซ์กราฟแห่งไรน์ได้รับอำนาจเต็มในการปกครองและบริหารราชการแคว้นในพระปรมาธิไธยของจักรพรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ตามบทบัญญัติในกฎหมายแซลิก ทำให้ฟัลทซ์กราฟเป็นหนึ่งในขุนนางฆราวาสที่มีความโดดเด่นที่สุดในจักรวรรดิ จุดเปลี่ยนสำคัญของแคว้นอยู่ในช่วงภายใต้การปกครองของผู้คัดเลือกฟรีดริชที่ 5 ยอมรับการเชิญขึ้นเป็นกษัตริย์แห่งโบฮีเมียในปีค.ศ. 1619 ซึ่งได้จุดชนวนให้เกิดสงครามสามสิบปี ซึ่งเป็นสงครามที่ทำให้ทวีปยุโรปเข้าสู่กลียุค โดยเฉพาะในบริเวณแว่นแคว้นเยอรมันทั้งหลาย[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Wilson, Peter (2009). Europe's Tragedy: A New History of the Thirty Years War (2010 ed.). Penguin. p. 787. ISBN 978-0-14-100614-7.