ยูเอสเอส เจอรัลด์ อาร์. ฟอร์ด (CVN-78)
ยูเอสเอส เจอรัลด์ อาร์. ฟอร์ด ขณะเดินเรือในมหาสมุทรแอตแลนติก วันที่ 9 ตุลาคม 2022
| |
ประวัติ | |
---|---|
![]() | |
ชื่อ | |
ตั้งชื่อตาม | เจอรัลด์ อาร์. ฟอร์ด |
รางวัล | 10 กันยายน 2008 |
อู่เรือ | นิวพอร์ตนิวส์ชิปบิลดิง |
มูลค่าสร้าง | US$ 12,800 ล้าน + 4,700 ล้าน (สำหรับการวิจัยและพัฒนา) (ประมาณการ)[7] |
ปล่อยเรือ | 13 พฤศจิกายน 2009[4] |
เดินเรือแรก | 11 ตุลาคม 2013[1] |
สนับสนุนโดย | ซูซาน ฟอร์ด เบลส์[5] |
Christened | 9 พฤศจิกายน 2013[6] |
ส่งมอบเสร็จ | 31 พฤษภาคม 2017[2] |
เข้าประจำการ | 22 กรกฎาคม 2017[3] |
ท่าจอด | นอร์ฟอล์ก |
รหัสระบุ | CVN-78 |
คำขวัญ | ความซื่อสัตย์เป็นรากฐานแห่งการนำทาง |
สถานะ | ในประจำการ |
สัญลักษณ์ | ![]() |
ลักษณะเฉพาะ | |
ชั้น: | เจอรัลด์ อาร์. ฟอร์ด |
ขนาด (ระวางขับน้ำ): | ประมาณ 100,000 ตัน (บรรทุกเต็มพิกัด) |
ความยาว: | 1,092 ฟุต (333 เมตร)[8] – 1,106 ฟุต (337 เมตร)[9] |
ความกว้าง: |
|
ความสูง: | 250 ฟุต (76 เมตร) |
ดาดฟ้า: | 25 |
ระบบพลังงาน: | 2 × เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ Bechtel A1B PWR (ยูเรเนียมเสริมสมรรถนะสูง (HEU) 93.5%) |
ระบบขับเคลื่อน: | 4 × ใบจักร |
ความเร็ว: | เกิน 30 นอต (56 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 35 ไมล์ต่อชั่วโมง) |
พิสัยเชื้อเพลิง: | ประมาณ 25 ปี ก่อนการเติมเชื้อเพลิงกลางรอบ [10][11] |
อัตราเต็มที่: | 4,539 (รวมฝูงบิน)[12] |
ระบบตรวจการและปฏิบัติการ: | |
ยุทโธปกรณ์: |
|
อากาศยาน: | 75+[13] |
อุปกรณ์สนับสนุนการบิน: | ดาดฟ้าบินขนาด 1,092 × 256 ฟุต (333 × 78 เมตร) |
ยูเอสเอส เจอรัลด์ อาร์. ฟอร์ด (CVN-78) (อังกฤษ: USS Gerald R. Ford) เป็นเรือบรรทุกเครื่องบินขับเคลื่อนด้วยพลังงานนิวเคลียร์ลำใหม่ของกองทัพเรือสหรัฐ ได้รับการตั้งชื่อตามประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกาคนที่ 38 เจอรัลด์ อาร์. ฟอร์ด ซึ่งเคยรับราชการกองทัพเรือในช่วงสงครามโลกครั้งที่สองบนเรือบรรทุกเครื่องบินขนาดเล็ก ยูเอสเอส มอนเทอเรย์ (CVL-26) ในเขตสงครามแปซิฟิก[14] เรือลำนี้ถือเป็นเรือบรรทุกเครื่องบินที่ใหญ่ที่สุดในโลก และเป็นเรือรบที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยสร้างมา
ยูเอสเอส เจอรัลด์ อาร์. ฟอร์ด เป็นเรือลำแรกในชั้นเจอรัลด์ อาร์. ฟอร์ด ซึ่งพัฒนามาจากเรือบรรทุกเครื่องบินชั้นนิมิตซ์ มีระวางขับน้ำประมาณ 100,000 ตัน บรรทุกเครื่องบินรบได้ประมาณ 90 ลำ[15] และติดตั้งเทคโนโลยีที่ช่วยลดการสะท้อนของเรดาร์ มีพิธีวางกระดูกงูเรือตั้งแต่ปลายปี ค.ศ. 2009[4] มีกำหนดแล้วเสร็จและเข้าประจำการในปี ค.ศ. 2016 แทนที่เรือยูเอสเอส เอนเทอร์ไพรซ์ (CVN-65) ที่จะปลดประจำการในปีนั้น[16]
เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นเจอรัลด์ อาร์. ฟอร์ด มีแผนการสร้างทั้งสิ้น จำนวน 10 ลำ[17] โดยลำถัดจากยูเอสเอส เจอรัลด์ อาร์. ฟอร์ด (CVN-78) คือ ยูเอสเอส จอห์น เอฟ. เคนเนดี (CVN-79) มีกำหนดเข้าประจำการในปี ค.ศ. 2020[18] และต่อมาคือ ยูเอสเอส เอนเทอร์ไพรซ์ (CVN-80)[19]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Newport News Shipbuilding to Flood Dry Dock and Float Gerald R. Ford (CVN 78)" (Press release). Huntingdon Ingalls Industries. 9 October 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 July 2015. สืบค้นเมื่อ 9 October 2013.
- ↑ "Huntington Ingalls Industries Delivers Gerald R. Ford (CVN 78) To U.S. Navy" (Press release). Huntingdon Ingalls Industries. 1 June 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 June 2017. สืบค้นเมื่อ 1 June 2017.
- ↑ "President Trump Commissions USS Gerald R. Ford (CVN 78)" (Press release). United States Navy. 22 July 2017. NNS170722-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 July 2017. สืบค้นเมื่อ 22 July 2017.
- ↑ Murray, Dave (13 November 2009). "Gerald R. Ford ship ceremony brings Susan Ford Bales, Family to Newport News, Virginia". The Grand Rapids Press. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 November 2009.
- ↑ O'Rourke, Ronald (22 October 2013). "Navy Ford (CVN-78) Class Aircraft Carrier Program: Background and Issues for Congress" (PDF). Congressional Research Service. p. 4. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2 June 2013. สืบค้นเมื่อ 8 February 2014. FY14 cost of CVN-79 (procured in FY13) in then-year dollars; the same budget puts the cost of CVN-78 (procured in FY08) at $12,829.3 million but that includes ~$3.3bn of development costs. CVN-80 is estimated at $13,874.2m, making the total cost of the first three Fords $38,041.9m, or $12.68bn each.
- ↑ "Aircraft Carriers - CVN". Fact Files. U.S. Navy Office of Information. 17 September 2020. สืบค้นเมื่อ 18 November 2020.
- ↑ "Command History & Facts". Commander, Naval Air Force Atlantic. US Navy. สืบค้นเมื่อ 8 March 2021.
- ↑ "Engineering Destruction: The Terrifying and Awesome Power of The USS Gerald R. Ford". engineering.com. 7 August 2017. สืบค้นเมื่อ 24 May 2023.
- ↑ "Video: Nuclear Vs Diesel Aircraft Carriers – How do they Compare?". themaritimepost.com. 8 June 2021. สืบค้นเมื่อ 24 May 2023.
- ↑ "Gerald R. Ford Class Aircraft Carrier". Military.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 28 July 2019.
- ↑ Navy Names New Aircraft Carrier USS Gerald R. Ford - Official Announcement from Secretary of the Navy.
- ↑ CVN 78 Gerald R Ford Class – US Navy CVN 21 Future Carrier Programme, USA
- ↑ Navy CVN-21 Aircraft Carrier Program: Background and Issues for Congress เก็บถาวร 2006-12-01 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Retrieved 8 December 2006.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-08. สืบค้นเมื่อ 2012-07-08.
- ↑ Library of Congress - H. CON. RES. 83[ลิงก์เสีย]
- ↑ "Signatures for A Petition to name the next United States Navy nuclear powered aircraft carrier the USS ENTERPRISE". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-07-03. สืบค้นเมื่อ 2009-11-08.