ข้ามไปเนื้อหา

ภาษาฮูร์เรีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาฮูร์เรีย
ประเทศที่มีการพูดมิตันนิ
ภูมิภาคตะวันออกใกล้
ชาติพันธุ์ชาวฮูร์เรีย
ยุคเสนอที่ 2300–1000 ปีก่อน ค.ศ.
ตระกูลภาษา
ฮูร์โร-ยูราร์เทีย
  • ภาษาฮูร์เรีย
ระบบการเขียนอักษรรูปลิ่มฮิตไทต์
รหัสภาษา
ISO 639-3xhu
นักภาษาศาสตร์xhu
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาฮูร์เรีย เป็นภาษาฮูร์โร-ยูราร์เทียสูญหายแล้วที่พูดโดยชาวฮูร์เรีย (Khurrites) กลุ่มคนที่เดินทางเข้าเมโสโปเตเมียตอนเหนือประมาณ 2,300 แีก่อน ค.ศ. และส่วนใหญ่หายสาบสูญเมื่อ 1000 ปีก่อน ค.ศ. ภาษาฮูร์เรียเป็นภาษาของอาณาจักรมิตันนิในเมโสโปเตเมียตอนเหนือ และน่าจะพูดกันครั้งแรกอย่างน้อยที่นิคมชาวฮูร์เรียในบริเวณที่ปัจจุบันคือประเทศซีเรีย

การจัดประเภท

[แก้]

ภาษาฮูร์เรียมีความใกล้ชิดอย่างมากกับภาษายูราร์เทีย ภาษาของอาณาจักรโบราณอูราร์ตู ทั้งสองภาษารวมกันอยู่ในตระกูลภาษาฮูร์โร-ยูราร์เทีย การเชื่อมโยงภายนอกกับกลุ่มภาษาฮูร์โร-ยูราร์เทียนี้ยังคงเป็นประเด็นพิพาท โดนมีการเสนอความเชื่อโยงกับตระกูลภาษาอื่น ๆ หลายแบบ (เช่น กลุ่มภาษาคอเคซัสตะวันออกเฉียงเหนือ, ตระกูลภาษาอินโด-ยูโรเปียน หรือกลุ่มภาษาคาร์ตวีเลียนที่พูดกันในประเทศจอร์เจีย) ยังมีการคาดเดาว่าภาษานี้เกี่ยวข้องกับ "จีน-คอเคซัส"[1] กระนั้น ข้อเสนอเหล่านี้ไม่ได้รับการยอมรับโดยทั่วไป[2]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Kassian 2010, p. 206
  2. Wilhelm 2008, p. 81

บรรณานุกรม

[แก้]
  • Kassian, Alexei (2010). "Review of The Indo-European Elements in Hurrian". Journal of Language Relationship • Вопросы языкового родства (4): 199–211. ISSN 1998-6769.
  • Wilhelm, Gernot (2008). "Hurrian". ใน Woodard, Roger D. (บ.ก.). The Ancient Languages of Asia Minor. Cambridge: Cambridge University Press. pp. 81–104. doi:10.1017/CBO9780511486845.012. ISBN 978-0-521-68496-5.

อ่านเพิ่ม

[แก้]
  • Andrason, Alexander; Vita, Juan-Pablo (2016). "Contact Languages of the Ancient Near East – Three more Case Studies (Ugaritic-Hurrian, Hurro-Akkadian and Canaano-Akkadian)". Journal of Language Contact. 9 (2): 293–334. doi:10.1163/19552629-00902004. hdl:10261/193367.
  • Campbell, Dennis R. M (2020). "Hurrian". ใน Hasselbach-Andee, Rebecca (บ.ก.). A Companion to Ancient Near Eastern Languages. Hoboken: John Wiley & Sons. pp. 203–219. doi:10.1002/9781119193814.ch11. ISBN 9781119193296.
  • Goetze, Albrecht (1948). "Enclitic Pronouns in Hurrian". Journal of Cuneiform Studies. 2 (4): 255–69. doi:10.2307/3515927. JSTOR 3515927.
  • Goetze, Albrecht (1940). "The Ḫurrian Verbal System". Language. 16 (2): 125–40. doi:10.2307/408947. JSTOR 408947.
  • Laroche, Emmanuel (1980). Glossaire de la langue Hourrite. Revue hittite et asianique (ภาษาฝรั่งเศส). Vol. 34/35. Paris: Éditions Klincksieck. ISBN 2-252-01984-0.
  • Purves, Pierre M (1941). "Hurrian Consonantal Pattern". The American Journal of Semitic Languages and Literatures. 58 (4): 378–404. doi:10.1086/370621.
  • Vita, Juan-Pablo (2007). "Two Hurrian Loanwords in Ugaritic Texts". Altorientalische Forschungen. 34 (1–2): 181–184. doi:10.1524/aofo.2007.34.12.185.
  • Wegner, Ilse (2007). Hurritisch, eine Einführung [Hurrian, an Introduction] (ภาษาเยอรมัน) (2nd ed.). Wiesbaden: Harassowitz. ISBN 978-3-447-05394-5.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]