ข้ามไปเนื้อหา

ภาษาฮาจอง

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาฮาจอง
হাজং
ออกเสียง[ha.dʒɔŋ]
ประเทศที่มีการพูดอินเดียและบังกลาเทศ
ภูมิภาครัฐเมฆาลัย, รัฐอัสสัม, รัฐมิโซรัม, รัฐอรุณาจัลประเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตกในประเทศอินเดีย มัยมันสิงห์, Sherpur, Netrokona และ Sunamganj ในประเทศบังกลาเทศ
ชาติพันธุ์ชาวฮาจอง
จำนวนผู้พูด71,800  (2011)[1]
8,000 ในบังกลาเทศ (ไม่มีวันที่)[1]
ตระกูลภาษา
ภาษาถิ่น
Doskina'
Korebari
Susung'ya'
Barohajarya'
Mespa'rya'
ระบบการเขียนอักษรเบงกอล-อัสสัม, อักษรละติน[2]
รหัสภาษา
ISO 639-3haj
บทความนี้มีสัญลักษณ์สัทอักษรสากล หากระบบของคุณไม่รองรับการแสดงผลที่ถูกต้อง คุณอาจเห็นปรัศนี กล่อง หรือสัญลักษณ์อย่างอื่นแทนที่อักขระยูนิโคด

ภาษาฮาจอง เป็นภาษากลุ่มอินโด-อารยัน[3] ที่มีอิทธิพลมาจากตระกูลภาษาย่อยทิเบต-พม่า[4][5] พูดโดยชาวฮาจองประมาณ 80,000 คนทั่วอนุทวีปอินเดียตะวันออกเเฉียงเหนือ โดยเฉพาะในรัฐอัสสัม รัฐเมฆาลัย รัฐอรุณาจัลประเทศ และรัฐเบงกอลตะวันตกในอินเดีย และภาคมัยมันสิงห์กับภาคสิเลฏในบังกลาเทศ เขียนด้วยอักษรเบงกอลแบบอัสสัมและอักษรละติน[2] ภาษานี้มีคำยืมจากภาษาสันสกฤตจำนวนมาก เดิมภาษานี้เป็นภาษาตระกูลทิเบต-พม่า แต่ได้ผสมลักษณะทางภาษาศาสตร์จากภาษาเบงกอลและภาษาอัสสัม[6]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 ภาษาฮาจอง ที่ Ethnologue (22nd ed., 2019)
  2. 2.0 2.1 Eberhard, David M.; Simons, Gary F.; Fennig, Charles D., บ.ก. (2019). Hajong Ethnologue: Languages of the World (22nd ed.). Dallas, Texas: SIL International. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 April 2019. สืบค้นเมื่อ 16 March 2020.
  3. General Knowledge of Northeast India: For All Psc and Competitive Exams. By Joydeep Ghosh, 2019. p.85 [1]
  4. Hajong, B. (2002). The Hajongs and their struggle. Assam, Janata Press. Foreword(2) by Satyendra Narayan Goswami 2001.
  5. Phillips, V. C. (2011). "Case Marking in Hajong" (PDF). ใน G. Hyslop; S. Morey; M. Post (บ.ก.). North East Indian Linguistics: Volume 3. Delhi: Foundation Books. pp. 224–240.
  6. Singh, R. P. (2013). "Hajong". ใน Danver, Steven (บ.ก.). Native Peoples of the World. Vol. 2. Sharpe Reference. p. 531. ISBN 978-0-7656-8222-2. [The Hajongs] speak the Hajong language, originally a Tibeto-Burman tongue that later mixed with Assamese and Bengali.

ข้อมูล

[แก้]