ภาษาปาชายี
หน้าตา
ภาษาปาชายี | |
---|---|
ปาไช | |
زبان پشهای Zabân Pašhây | |
ประเทศที่มีการพูด | ประเทศอัฟกานิสถาน |
ชาติพันธุ์ | ชาวปาชายี |
จำนวนผู้พูด | 400,000 (2000–2011)[1] |
ตระกูลภาษา | |
ระบบการเขียน | เปอร์เซีย |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | มีหลากหลาย:aee – ตะวันออกเฉียงเหนือglh – ตะวันตกเฉียงเหนือpsi – ตะวันออกเฉียงใต้psh – ตะวันตกเฉียงใต้ |
Linguasphere | 59-AAA-a |
แผนที่ภาษาในประเทศอัฟกานิสถาน; ปาชายีอยู่ในสีม่วงทางตะวันออก |
ภาษาปาชายี หรือ ปาไช (زبان پشهای) เป็นกลุ่มภาษาที่พูดโดยชาวปาชายี ซึ่งอยู่ในสาขาดาร์ดิกในกลุ่มภาษาอินโด-อารยัน[2] ก่อน ค.ศ. 2003 ภาษานี้ไม่มีรูปเขียนเป็นของตนเอง[3] มีสี่สำเนียงที่ไม่สามารถเข้าใจกันได้ ซึ่งมีความคล้ายกันของศัพท์เพียงร้อยละประมาณ 30[1]
ไวยากรณ์ภาษานี้ถูกเขียนเป็นวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกใน ค.ศ. 2014[4]
สัทวิทยา
[แก้]พยัญชนะ
[แก้]ริมฝีปาก | ฟัน | ปุ่มเหงือก | ปุ่มเหงือก- เพดานแข็ง |
ปลายลิ้นม้วน | เพดานปาก | เพดานอ่อน | เส้นเสียง | ||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
นาสิก | m | n | ɳ | ŋ | |||||
ระเบิด | ไม่ก้อง | p | t | ʈ | k | ||||
ก้อง | b | d | ɖ | ɡ | |||||
กักเสียดแทรก | ไม่ก้อง | t͡ʃ | |||||||
ก้อง | d͡ʒ | ||||||||
เสียดแทรก | ไม่ก้อง | s | ʃ | (ʂ) | x | (h) | |||
ก้อง | z | ʒ | (ʐ) | ɣ | |||||
ข้างลิ้น | ɬ | ||||||||
โรติก | กระทบ | ɾ | ɽ | ||||||
รัว | r | ||||||||
เปิด | ข้าง | l | |||||||
กลาง | ʋ ~ w | j |
- [h] พบเฉพาะในสำเนียง Amla
- สามารถเกิดเสียง [f] และ [q] ได้เฉพาะในคำยืมและในผู้พูดภาษาดารี
- [ʂ] มักพบในผู้พูดวัยแก่ แต่สูญหายในวัยหนุ่ม และได้ยินเป็นเสียงหลังปุ่มเหงือก [ʃ]
- [ʐ] มักพบในผู้พูดวัยแก่ แต่สูญหายในวัยหนุ่ม และได้ยินเป็นเสียงหลังปุ่มเหงือก [ʒ]
- ได้ยินเสียง /ʋ/ นี้ก่อนสระหน้า /i e/ ถ้าเกิดก่อนหรือหลังสระกลางหรือหลัง /a u o/ จะได้ยินเป็น [w]
สระ
[แก้]หน้า | กลาง | หลัง | |
---|---|---|---|
สูง | i | u | |
กลาง | e eː | o oː | |
ต่ำ | a aː |
- เฉพาะสระกลางและต่ำเท่านั้นที่มีคู้ยาว
- ในบางพื้นที่ เสียง /e/ ได้ยินเป็น [ɛ] และ /a/ ได้ยินเป็น [ə] หรือ [æ][4]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
ตะวันตกเฉียงเหนือ ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
ตะวันออกเฉียงใต้ ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
ตะวันตกเฉียงใต้ ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก) - ↑ Masica, Colin P. (1991). The Indo-Aryan Languages. Cambridge: Cambridge University Press. p. 440.
- ↑ Yun, Ju-Hong (2003). Pashai Language Development Project: Promoting Pashai language, literacy and community development (PDF). Conference on language development, language revitalization and multilingual education in minority communities in Asia. 6–8 November 2003. Bangkok, Thailand. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 5 November 2018. สืบค้นเมื่อ 5 November 2018.
- ↑ 4.0 4.1 Lehr, Rachel. 2014. A descriptive grammar of Pashai: The language and speech of a community of Darrai Nur. Phd dissertation, University of Chicago.