ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2024

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2024
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน
รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี 2024
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพอินโดนีเซีย
เมืองซูราการ์ตา
วันที่21 มิถุนายน – 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2567
ทีม12
สถานที่(ใน 2 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศ ออสเตรเลีย (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศ ไทย
อันดับที่ 3 อินโดนีเซีย
อันดับที่ 4 เวียดนาม
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน22
จำนวนประตู111 (5.05 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดออสเตรเลีย Anthony Didulica
ออสเตรเลีย Quinn MacNicol
(คนละ 6 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมอินโดนีเซีย Zahaby Gholy
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมไทย ศุภกร พูลผล
2022
2026

การแข่งขัน ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2024 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 19 ของ ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี, ที่จัดขึ้นโดย สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน สำหรับทีมชาติชายของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีอายุไม่เกิน 16 ปี.

ทั้งหมด 12 ทีมที่จะลงเล่นในรายการนี้, กับผู้เล่นที่เกิดก่อนหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2008 จะได้มีสิทธิ์เข่าร่วม. แต่ละนัดจะมีระยะเวลาของการแข่งขันอยู่ที่ 80 นาที, ประกอบไปด้วยสองครึ่ง ครึ่งละ 40 นาที.

ทีมที่เข้าร่วม[แก้]

ไม่มีการลงเล่นในรอบคัดเลือก, และผู้เข้าร่วมทั้งหมดจะได้ผ่านเข้าสู่รอบสุดท้าย. ด้านล่างนี้คือ 12 ทีมที่มาจากสมาคมสมาชิกของสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียนจะเข้าสู่การแข่งขัน.

ทีม สมาคม/สหพันธ์ การลงสนาม ผลงานที่ดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
 ออสเตรเลีย ฟุตบอลออสเตรเลีย ครั้งที่ 9 ชนะเลิศ (2008, 2016)
 บรูไน เอฟเอ บรูไน ดีเอส ครั้งที่ 10 รอบแบ่งกลุ่ม (9 ครั้ง)
 กัมพูชา เอฟเอฟ แคมโบเดีย ครั้งที่ 12 อันดับที่ 4 (2016)
 อินโดนีเซีย เอฟเอ อินโดนีเซีย ครั้งที่ 12 ชนะเลิศ (2018, 2022)
 ลาว ลาว เอฟเอฟ ครั้งที่ 14 รองชนะเลิศ (2002, 2007, 2011)
 มาเลเซีย เอฟเอ มาเลเซีย ครั้งที่ 13 ชนะเลิศ (2013, 2019)
 พม่า เมียนมาร์ เอฟเอฟ ครั้งที่ 13 ชนะเลิศ (2002, 2005)
 ฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ เอฟเอฟ ครั้งที่ 10 รอบแบ่งกลุ่ม (9 ครั้ง)
 สิงคโปร์ เอฟเอ สิงคโปร์ ครั้งที่ 12 อันดับที่ 4 (2008, 2011)
 ไทย เอฟเอ ไทยแลนด์ ครั้งที่ 12 ชนะเลิศ (2007, 2011, 2015)
 ติมอร์-เลสเต เอฟเอฟ ติมอร์-เลสเต ครั้งที่ 9 อันดับที่ 3 (2010)
 เวียดนาม เวียดนาม เอฟเอฟ ครั้งที่ 14 ชนะเลิศ (2006, 2010, 2017)

สนามแข่งขัน[แก้]

ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2567 สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียนได้ประกาศอย่างเป็นทางการว่า 2 สนามแข่งขันสำหรับทัวร์นาเมนต์จะจัดตั้งในซูราการ์ตา จังหวัดชวากลาง[1]

ซูราการ์ตา
สนามกีฬามานาฮัน สนามกีฬาศรีเวดารี
ความจุ: 20,000 ความจุ: 10,000

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

สองทีมที่ดีที่สุดของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่รอบรองชนะเลิศ.

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อินโดนีเซีย (H) 3 3 0 0 12 1 +11 9 รอบแพ้คัดออก
2  ลาว 3 2 0 1 6 7 −1 6
3  สิงคโปร์ 3 1 0 2 5 5 0 3
4  ฟิลิปปินส์ 3 0 0 3 0 10 −10 0
แหล่งที่มา :
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ.
ลาว 3–0 ฟิลิปปินส์
รายงาน
อินโดนีเซีย 3–0 สิงคโปร์
รายงาน

สิงคโปร์ 1–2 ลาว
รายงาน
ฟิลิปปินส์ 0–3 อินโดนีเซีย
รายงาน

อินโดนีเซีย 6–1 ลาว
รายงาน
ฟิลิปปินส์ 0–4 สิงคโปร์
รายงาน
ผู้ตัดสิน: วรินทร สัสดี (ไทย)

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เวียดนาม 3 2 1 0 21 2 +19 7 รอบแพ้คัดออก
2  กัมพูชา 3 2 1 0 9 2 +7 7
3  พม่า 3 1 0 2 10 8 +2 3
4  บรูไน 3 0 0 3 1 29 −28 0
แหล่งที่มา :
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
เวียดนาม 15–0 บรูไน
รายงาน
ผู้ตัดสิน: วรินทร สัสดี (ไทย)
พม่า 1–2 กัมพูชา
รายงาน

บรูไน 1–8 พม่า
รายงาน
กัมพูชา 1–1 เวียดนาม
Vreak ประตู 62' รายงาน Nguyễn Việt Long ประตู 57'

เวียดนาม 5–1 พม่า
รายงาน
กัมพูชา 6–0 บรูไน
รายงาน

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ออสเตรเลีย 3 2 1 0 14 0 +14 7 รอบแพ้คัดออก
2  ไทย 3 2 1 0 9 1 +8 7
3  มาเลเซีย 3 1 0 2 6 5 +1 3
4  ติมอร์-เลสเต 3 0 0 3 0 23 −23 0
แหล่งที่มา :
กฎการจัดอันดับ : เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
ไทย 0–0 ออสเตรเลีย
รายงาน
มาเลเซีย 5–0 ติมอร์-เลสเต
รายงาน

ออสเตรเลีย 2–0 มาเลเซีย
รายงาน
ติมอร์-เลสเต 0–6 ไทย
รายงาน

ไทย 3–1 มาเลเซีย
รายงาน Izzudin ประตู 4'
ติมอร์-เลสเต 0–12 ออสเตรเลีย
รายงาน

ตารางคะแนนของทีมรองชนะเลิศ[แก้]

ทีมรองชนะเลิศที่ดีที่สุดจากสามกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก.

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ซี  ไทย 3 2 1 0 9 1 +8 7 รอบแพ้คัดออก
2 บี  กัมพูชา 3 2 1 0 9 2 +7 7
3 เอ  ลาว 3 2 0 1 6 7 −1 6
แหล่งที่มา :
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูที่ทำได้; 13) จำนวนนัดที่เสมอ.

รอบแพ้คัดออก[แก้]

ในรอบแพ้คัดออก, การดวลลูกโทษ เป็นวิธีการที่จะใช้ตัดสินหาผู้ชนะถ้าจำเป็น

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
1 กรกฎาคม – สุราการ์ตา
 
 
 เวียดนาม1
 
3 กรกฎาคม – สุราการ์ตา
 
 ไทย 2
 
 ไทย1 (7)
 
1 กรกฎาคม – สุราการ์ตา
 
 ออสเตรเลีย
(ลูกโทษ)
1 (8)
 
 อินโดนีเซีย3
 
 
 ออสเตรเลีย 5
 
นัดชิงอันดับที่ 3
 
 
3 กรกฎาคม – สุราการ์ตา
 
 
 เวียดนาม0
 
 
 อินโดนีเซีย5

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

อินโดนีเซีย 3–5 ออสเตรเลีย
รายงาน

นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]

เวียดนาม 0–5 อินโดนีเซีย
รายงาน

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

ชนะเลิศ[แก้]

 ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 16 ปี 2024 

ออสเตรเลีย
สมัยที่ 3

รางวัล[แก้]

ผู้เล่นทรงคุณค่า[2] รางวัลดาวซัลโวสูงสูด[2] รางวัลผู้รักษาประตูยอดเยี่ยม[2]
อินโดนีเซีย Zahaby Gholy ออสเตรเลีย Anthony Didulica
ออสเตรเลีย Quinn MacNicol
ไทย ศุภกร พูลผล

ผู้ทำประตู[แก้]

มีการทำประตู 111 ประตู จากการแข่งขัน 22 นัด เฉลี่ย 5.05 ประตูต่อนัด


การทำประตู 1 ครั้ง

การทำเข้าประตูตัวเอง 1 ครั้ง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Piala AFF U-16 dan U-19 2024 Digelar di Stadion Piala Dunia U-17 2023". Bolasport (ภาษาอินโดนีเซีย). 10 May 2024. สืบค้นเมื่อ 11 May 2024.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Daftar Penghargaan Piala AFF U-16 2024: Gholy Pemain Terbaik". CNN Indonesia (ภาษาอินโดนีเซีย). 3 July 2024.