ข้ามไปเนื้อหา

ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน รุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี 2024

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2024
Kejuaraan Remaja U-19 ASEAN 2024
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพอินโดนีเซีย
วันที่17–29 กรกฎาคม พ.ศ. 2567
ทีม12
สถานที่(ใน 1 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศอินโดนีเซีย (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศไทย
อันดับที่ 3ออสเตรเลีย
อันดับที่ 4มาเลเซีย
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน10
จำนวนประตู37 (3.7 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดมาเลเซีย Abid Safaraz
(3 ประตู)
2022
2026

การแข่งขัน ฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี 2024 เป็นการแข่งขันครั้งที่ 19 ของฟุตบอลอาเซียนชิงแชมป์เยาวชนอายุไม่เกิน 19 ปี ซึ่งจัดขึ้นโดยสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน การแข่งขันครั้งนี้จัดการแข่งขันที่ประเทศอินโดนีเซีย ระหว่างเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2567.[1][2] นี่เป็นครั้งแรกที่การแข่งขันเปลี่ยนชื่อเป็นการแข่งขันชิงแชมป์อาเซียน. ผู้เล่นที่เกิดก่อนหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2548 สามารถเข้าร่วมทัวร์นาเมนต์นี้ได้.

ทีมที่เข้าร่วม

[แก้]

ไม่มีการคัดเลือก, และผู้เข้าแข่งขันทั้งหมดได้เข้าสู่การแข่งขันรอบสุดท้าย. 12 ทีมด้านล่างนี้ที่มาจากชาติสมาชิกของเอเอฟเอฟเข้าร่วมการแข่งขันดังนี้:

ทีม สมาคม จำนวนครั้งที่เข้าร่วม ผลงานดีที่สุดครั้งที่ผ่านมา
 ออสเตรเลีย ฟุตบอลออสเตรเลีย ครั้งที่ 9 ชนะเลิศ (2006, 2008, 2010, 2018, 2019)
 บรูไน เอฟเอ บรูไน ดีเอส ครั้งที่ 11 รอบแบ่งกลุ่ม (10 สมัย)
 กัมพูชา เอฟเอฟ กัมพูชา ครั้งที่ 13 รอบแบ่งกลุ่ม (12 สมัย)
 อินโดนีเซีย เอฟเอ อินโดนีเซีย ครั้งที่ 12 ชนะเลิศ (2013,2024)
 ลาว ลาว เอฟเอฟ ครั้งที่ 13 รองชนะเลิศ (2022)
 มาเลเซีย เอฟเอ มาเลเซีย ครั้งที่ 15 ชนะเลิศ (2018, 2022)
 พม่า เมียนมาร์ เอฟเอฟ ครั้งที่ 15 ชนะเลิศ (2003, 2005)
 ฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ เอฟเอฟ ครั้งที่ 11 รอบแบ่งกลุ่ม (10 สมัย)
 สิงคโปร์ เอฟเอ สิงคโปร์ ครั้งที่ 14 อันดับที่ 3 (2003)
 ไทย สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 18 ชนะเลิศ (2002, 2009, 2011, 2015, 2017)
 ติมอร์-เลสเต เอฟเอฟ ติมอร์-เลสเต ครั้งที่ 10 อันดับที่ 3 (2013)
 เวียดนาม เวียดนาม เอฟเอฟ ครั้งที่ 18 ชนะเลิศ (2007)

การจับสลาก

[แก้]

การจับสลากอย่างเป็นทางการของทัวร์นาเมนต์จัดขึ้นในวันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2567 ที่ จาการ์ตา, ประเทศอินโดนีเซีย เวลา 16:00 น. (GMT+07:00) ตำแหน่งในโถเป็นไปตามความคืบหน้าของแต่ละทีมตามครั้งก่อนหน้านี้. อินโดนีเซียในฐานะเจ้าบ้านได้ถูกกำหนดให้อยู่ในโถ 1 และตำแหน่ง เอ1 โดยอัตโนมัติ.

โถ 1 โถ 2 โถ 3 โถ 4
 อินโดนีเซีย (H)
 มาเลเซีย
 ลาว
 เวียดนาม
 ไทย
 ติมอร์-เลสเต
 พม่า
 กัมพูชา
 สิงคโปร์
 ฟิลิปปินส์
 บรูไน
 ออสเตรเลีย
  • (H): เจ้าภาพทัวร์นาเมนต์

สนามแข่งขัน

[แก้]
ซูราบายา
สนามกีฬาเกอโลราบุงโตโม สนามกีฬาเกอโลรา 10 พฤศจิกายน
ความจุ: 46,806 ความจุ: 20,000

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

กลุ่ม เอ

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  อินโดนีเซีย (H) 3 3 0 0 14 2 +12 9 รอบแพ้คัดออก
2  กัมพูชา 3 1 0 2 3 5 −2 3
3  ติมอร์-เลสเต 3 1 0 2 5 10 −5 3
4  ฟิลิปปินส์ 3 1 0 2 2 7 −5 3
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2567. แหล่งข้อมูล: [ต้องการอ้างอิง]
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
(H) เจ้าภาพ
ติมอร์-เลสเต 3–2 กัมพูชา
รายงาน
อินโดนีเซีย 6–0 ฟิลิปปินส์
รายงาน


กลุ่ม บี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ออสเตรเลีย 3 3 0 0 13 2 +11 9 รอบแพ้คัดออก
2  เวียดนาม 3 1 1 1 7 8 −1 4[a]
3  พม่า 3 0 2 1 2 3 −1 2[a]
4  ลาว 3 0 1 2 2 11 −9 1
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2567. แหล่งข้อมูล: [ต้องการอ้างอิง]
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
Notes:
  1. 1.0 1.1 Disciplinary points: Vietnam −2, Myanmar −3.
ลาว 0–6 ออสเตรเลีย
รายงาน
ผู้ตัดสิน: สงกรานต์ บุญมีเกียรติ (ไทย)


กลุ่ม ซี

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  มาเลเซีย 3 2 1 0 17 1 +16 7 รอบแพ้คัดออก
2  ไทย 3 2 1 0 9 2 +7 7
3  สิงคโปร์ 3 1 0 2 3 7 −4 3
4  บรูไน 3 0 0 3 0 19 −19 0
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2567. แหล่งข้อมูล: [ต้องการอ้างอิง]
กฏการจัดอันดับ: เงื่อนไขรอบแบ่งกลุ่ม
มาเลเซีย 11–0 บรูไน
รายงาน


ตารางคะแนนของทีมรองชนะเลิศ

[แก้]

ทีมรองชนะเลิศที่ดีที่สุดจากสามกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก.

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ซี  ไทย 3 2 1 0 9 2 +7 7 รอบแพ้คัดออก
2 บี  เวียดนาม 3 1 1 1 7 8 −1 4
3 เอ  ติมอร์-เลสเต 3 1 0 2 3 5 −2 3
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2567. แหล่งข้อมูล: [ต้องการอ้างอิง]
กฏการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูที่ทำได้; 4) จำนวนนัดที่เสมอ.

รอบแพ้คัดออก

[แก้]

ในรอบแพ้คัดออก, การดวลลูกโทษ เป็นวิธีใช้ตัดสินหาผู้ชนะถ้าจำเป็น.

สายการแข่งขัน

[แก้]
 
รอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
      
 
27 กรกฎาคม 2024 – ซูราบายา
 
 
ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย0
 
29 กรกฎาคม 2024 – ซูราบายา
 
ไทย ไทย1
 
ไทย ไทย 0
 
27 กรกฎาคม 2024 – ซูราบายา
 
อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 1
 
อินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 1
 
 
มาเลเซีย มาเลเซีย 0
 
นัดชิงอันดับที่ 3
 
 
29 กรกฎาคม 2024 – ซูราบายา
 
 
ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 1 (5)
 
 
มาเลเซีย มาเลเซีย 1 (3)

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]

นัดชิงอันดับที่ 3

[แก้]

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]

ผู้ทำประตู

[แก้]

มีการทำประตู 33 ประตู จากการแข่งขัน 6 นัด เฉลี่ย 5.5 ประตูต่อนัด


การทำประตู 3 ครั้ง

การทำประตู 2 ครั้ง

การทำประตู 1 ครั้ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Breaking News: Indonesia Tuan Rumah Piala AFF U-16 dan U-19 2024!". Okezone.com (ภาษาอินโดนีเซีย). 15 November 2023. สืบค้นเมื่อ 10 May 2024.
  2. "AFF chốt địa điểm tổ chức giải U16 và U19 Đông Nam Á 2024". Báo Tiền Phong (ภาษาเวียดนาม). 8 May 2024. สืบค้นเมื่อ 11 May 2024.