ข้ามไปเนื้อหา

ฟือร์นังดู ซังตุช

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟือร์นังดู ซังตุช
GOM
ซังตุชในฐานะผู้จัดการทีมชาติโปรตุเกสในฟุตบอลโลก 2018
ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อเต็ม ฟือร์นังดู มานูแวล ฟือร์นังดึช ดา กอชตา ซังตุช
วันเกิด (1954-10-10) 10 ตุลาคม ค.ศ. 1954 (70 ปี)
สถานที่เกิด ลิสบอน โปรตุเกส
ตำแหน่ง กองหลัง
ข้อมูลสโมสร
สโมสรปัจจุบัน
เบชิกทัช (ผู้จัดการ)
สโมสรเยาวชน
1970–1971 ออปึรารียูลิชบัว
1971–1973 ไบฟีกา
สโมสรอาชีพ*
ปี ทีม ลงเล่น (ประตู)
1973–1979 อิชตูริล 91 (2)
1979–1980 มารีตีมู 26 (0)
1980–1987 อิชตูริล 72 (1)
รวม 189 (3)
จัดการทีม
1987–1988 อิชตูริล (ผู้ช่วยผู้จัดการ)
1988–1994 อิชตูริล
1994–1998 อิชเตรลาอามาโดรา
1998–2001 โปร์ตู
2001–2002 อาเอกเอเธนส์
2002 ปานาซีไนโกส
2003–2004 สปอร์ติง
2004–2006 อาเอกเอเธนส์
2006–2007 ไบฟีกา
2007–2010 ปาโอก
2010–2014 กรีซ
2014–2022 โปรตุเกส
2023 โปแลนด์
2024– เบชิกทัช
*นัดที่ลงเล่นและประตูที่ยิงให้แก่สโมสรเฉพาะลีกในประเทศเท่านั้น

ฟือร์นังดู มานูแวล ฟือร์นังดึช ดา กอชตา ซังตุช (โปรตุเกส: Fernando Manuel Fernandes da Costa Santos GOM; เกิดวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1954) เป็นอดีตนักฟุตบอลชาวโปรตุเกสซึ่งในตำแหน่งกองหลัง และอดีตผู้จัดการของทีมชาติโปรตุเกส มีผลงานที่โดดเด่นคือการพาโปรตุเกสชนะเลิศฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2016 และยูฟ่าเนชันส์ลีก ฤดูกาล 2018–19

เกียรติประวัติ

[แก้]

ผู้จัดการ

[แก้]

โปร์ตู

  • ปรีไมราลีกา: 1998–99
  • ตาซาดึปูร์ตูกัล: 1999–2000, 2000–01
  • ซูแปร์ตาซากังดีดูดึออลีไวรา: 1998, 1999

อาเอกเอเธนส์

  • กรีกฟุตบอลคัพ: 2001–02

โปรตุเกส

รางวัลส่วนตัว

  • ผู้จัดการแห่งปีซูเปอร์ลีกกรีซ: 2001–02, 2004–05, 2008–09, 2009–10
  • ผู้จัดการแห่งทศวรรษซูเปอร์ลีกกรีซ: 2000–10[3]
  • IFFHS World's Best National Coach: 2016,[4] 2019[5]
  • The Best FIFA Men's Coach: 2016 (อันดับที่สาม)[6][7][8]
  • Globos de Ouro – Best Male Coach: 2017
  • PFA Platinum Quinas: 2019[9]

เครื่องอิสริยาภรณ์

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Portugal regressa ao topo da Europa. Liga das Nações fica em casa" [Portugal return to the top of Europe. Nations League stays home] (ภาษาโปรตุเกส). SAPO. 9 June 2019. สืบค้นเมื่อ 14 June 2019.
  2. ""Portugal fez uma prova excelente", diz Fernando Santos" ["Portugal had an excellent tournament", Fernando Santos says] (ภาษาโปรตุเกส). TSF. 2 July 2017. สืบค้นเมื่อ 2 July 2017.
  3. Figueiredo, João Tiago (5 February 2011). "Fernando Santos é o treinador da década na Grécia" [Fernando Santos is Greece manager of the decade] (ภาษาโปรตุเกส). Mais Futebol. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 September 2016. สืบค้นเมื่อ 23 June 2016.
  4. "Former results". International Federation of Football History & Statistics. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-09-24. สืบค้นเมื่อ 13 January 2016.
  5. "IFFHS Awards 2019 – The world's best national coach: Fernando Santos (Portugal)". International Federation of Football History & Statistics. 26 November 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-11-28. สืบค้นเมื่อ 28 November 2019.
  6. "Who will be The Best FIFA Men's Coach 2016?". FIFA. 2 November 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-03-15. สืบค้นเมื่อ 15 May 2019.
  7. "The Best FIFA Men's Coach". FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-12-02. สืบค้นเมื่อ 15 May 2019.
  8. "The fans take centre stage". FIFA. 31 October 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-12. สืบค้นเมื่อ 14 June 2019.
  9. "Cristiano Ronaldo é o Melhor nas Quinas de Ouro e pede "premiozinho" para o Sporting" [Cristiano Ronaldo is the Best in the Golden Quinas and asks for a "small prize" for Sporting]. Observador (ภาษาโปรตุเกส). 3 September 2019. สืบค้นเมื่อ 4 September 2019.
  10. "Cidadãos nacionais agraciados com ordens portuguesas" [National citizens honoured with Portuguese orders] (ภาษาโปรตุเกส). Ordens Honoríficas Portuguesas. สืบค้นเมื่อ 29 January 2020.