พระวิสุทธาธิบดี
หน้าตา
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
![]() |
พระวิสุทธาธิบดี | |
---|---|
จวน | พระอารามหลวง หรือวัดราษฎร์ |
ผู้แต่งตั้ง | พระมหากษัตริย์ไทย |
วาระ | ตลอดพระชีพ หรือได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะ |
ผู้ประเดิมตำแหน่ง | พระวิสุทธาธิบดี (ไสว ฐิตวีโร) |
สถาปนา | 5 ธันวาคม 2516 |
พระวิสุทธาธิบดี เป็นราชทินนามพระราชาคณะเจ้าคณะรอง ชั้นหิรัญบัฏ พระราชทานแก่พระภิกษุฝ่ายมหานิกาย
ฐานานุกรม
[แก้]ผู้ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ที่ พระวิสุทธาธิบดี มีฐานานุศักดิ์ตั้งฐานานุกรมได้ 8 รูป[1] ดังนี้
- พระครูปลัดสุวัฒนสารคุณ วิบุลมหาคณานุนายก ตรีปิฎกธรรมรักขิต
- พระครูวินัยธร
- พระครูธรรมธร
- พระครูประกาศสรวุฒิ พระครูคู่สวด
- พระครูวิสุทธิ์สรคุณ พระครูคู่สวด
- พระครูสังฆวิจัย
- พระครูสมุห์
- พระครูใบฎีกา
รายนาม
[แก้]ลำดับ | นาม | วัด | ดำรงสมณศักดิ์ (พ.ศ.) | หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
1. | พระวิสุทธาธิบดี (ไสว ฐิตวีโร) | วัดไตรมิตรวิทยาราม | 2516 - 2531 | - |
2. | พระวิสุทธาธิบดี (สง่า ปภสฺสโร) | วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม | 2532 - 2534 | - |
3 | พระวิสุทธาธิบดี (วีระ ภทฺทจารี) | วัดสุทัศนเทพวราราม | 2535 - 2553 | สุดท้ายเป็นสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ |
4 | พระวิสุทธาธิบดี (เชิด จิตฺตคุตฺโต) | วัดสุทัศนเทพวราราม | 2562 - 2565 | ต่อมาได้รับพระราชทานราชทินนามเป็นพระพรหมวชิรมุนี |
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 110 ตอนที่ 19 ฉบับพิเศษ. สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา. 19 กุมภาพันธ์ 2536. p. 11. สืบค้นเมื่อ 15 มกราคม 2564.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help)