ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Koroyawin/ทดลองเขียน2

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

หน้านี้เป็นหน้าทดลองเขียนส่วนบุคคลของโคโรยาวิน กรุณางดการแก้ไขหน้านี้ บทความทดลองเขียนในปัจจุบันคือ: ปรับปรุงบทความประเทศโมนาโก


ราชรัฐโมนาโก

Principauté de Monaco (ฝรั่งเศส)
Principatu de Mùnegu (ลีกูเรีย)
คำขวัญDeo Juvante (ละติน)
(ด้วยความช่วยเหลือของพระเจ้า)
เพลงชาติอีมน์มอเนกัสก์
(เพลงสดุดีโมนาโก)
ที่ตั้งของ Koroyawin/ทดลองเขียน2  (เขียว) ในทวีปยุโรป  (เขียวและเทาเข้ม)
ที่ตั้งของ Koroyawin/ทดลองเขียน2  (เขียว)

ในทวีปยุโรป  (เขียวและเทาเข้ม)

เมืองหลวงโมนาโก (นครรัฐ)
43°44′N 7°25′E / 43.733°N 7.417°E / 43.733; 7.417
เมืองใหญ่สุดมงเต-การ์โล
ภาษาราชการฝรั่งเศส[1]
ภาษากลาง
กลุ่มชาติพันธุ์
ศาสนา
86.0% คริสต์
—80.9% โรมันคาทอลิก (ศาสนาประจำชาติ)[2]
—5.1% นิกายอื่น ๆ
11.7% ไม่มีศาสนา
1.7% ยูดาห์
0.6% อื่น ๆ[3]
การปกครองรัฐเดี่ยว ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ
เจ้าชายอาลแบร์ที่ 2
ปีแยร์ ดาร์ตู
สภานิติบัญญัติสภาแห่งชาติ
เป็นเอกราช
8 มกราคม ค.ศ. 1297
17 พฤษภาคม ค.ศ. 1814
• จากการครอบครองของสหสัมพันธมิตรครั้งที่หก
17 มิถุนายน ค.ศ. 1814
2 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1861
5 มกราคม ค.ศ. 1911
พื้นที่
• รวม
2.02 ตารางกิโลเมตร (0.78 ตารางไมล์) (อันดับที่ 193)
น้อย[4]
ประชากร
• 2019 ประมาณ
Steady 38,300[5] (อันดับที่ 190)
• สำมะโนประชากร 2016
37,308[6]
18,713 ต่อตารางกิโลเมตร (48,466.4 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 1)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2015 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น 7.672 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ ค.ศ. 2015)[7] (อันดับที่ 158)
เพิ่มขึ้น 115,700 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ ค.ศ. 2015)[7] (อันดับที่ 3)
จีดีพี (ราคาตลาด) 2018[b] (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น 7.185 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[8] (อันดับที่ 145)
เพิ่มขึ้น 185,741 ดอลลาร์สหรัฐ[9] (อันดับที่ 1)
สกุลเงินยูโร () (EUR)
เขตเวลาUTC+1 (เวลายุโรปกลาง)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+2 (เวลาออมแสงยุโรปกลาง)
ขับรถด้านขวา[10]
รหัสโทรศัพท์+377
โดเมนบนสุด.mc
  1. ^ หน่วยงานราชการตั้งอยู่ในมอนาโก-วีล
  2. ^ ไม่รวมจีดีพีต่อหัวของแรงงานที่ไม่ได้พักประจำจากฝรั่งเศสและอิตาลี

ราชรัฐโมนาโก (ฝรั่งเศส: Principauté de Monaco) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า โมนาโก (ฝรั่งเศส: Monaco [mɔnako] มอนาโก) เป็นนครรัฐในยุโรปตะวันตก ตั้งอยู่บริเวณเฟรนช์ริวีเอราทางตอนใต้ของประเทศฝรั่งเศส ติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียน เป็นประเทศเอกราชที่เล็กที่สุดเป็นอันดับสองของโลก[11] มีขนาดเพียง 2.02 ตารางกิโลเมตรแต่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในโลก[12] ราว 19,009 คนต่อตารางกิโลเมตรในปี ค.ศ. 2018[13]

แขวงที่มีประชากรมากที่สุดคือมงเต-การ์โล โมนาโกเป็นหนึ่งในประเทศที่ค่าครองชีพแพงและประชากรร่ำรวยที่สุดในโลก จากการสำรวจเมื่อ ค.ศ. 2014 ประชากรราวร้อยละ 30 ของประชากรทั้งหมดเป็นมหาเศรษฐีหลายร้อยล้านดอลลาร์สหรัฐ

โมนาโกปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ โดยมีเจ้าผู้ครองเป็นประมุขแห่งรัฐและมนตรีแห่งรัฐเป็นหัวหน้ารัฐบาล

ภาษาราชการและภาษาที่มีการใช้มากที่สุดคือภาษาฝรั่งเศส รองลงมาคือภาษาถิ่นโมนาโก ภาษาอิตาลี และภาษาอังกฤษตามลำดับ

โมนาโกได้รับการรับรองเอกราชอย่างเป็นทางการในสนธิสัญญาฝรั่งเศส-โมนาโก ค.ศ. 1861 และเข้าร่วมเป็นรัฐสมาชิกของสหประชาชาติในปี 1993 แม้โมนาโกจะเป็นประเทศเอกราช แต่การป้องกันประเทศยังอยู่ในความรับผิดชอบของฝรั่งเศสโดยโมนาโกมีกองกำลังป้องกันตัวเองเพียง 2 กองทัพเท่านั้น

เศรษฐกิจของโมนาโกรุ่งเรืองอย่างมากนับตั้งแต่ช่วงคริสต์ศตวรษที่ 19 หลังการเปิดบ่อนกาสิโนแห่งแรกในมงเต-การ์โล และมีการสร้างทางรถไฟเชื่อมกับกรุงปารีสเมืองหลวงของประเทศฝรั่งเศส[14] อากาศที่อบอุ่น ทิวทัศน์ที่สวยงาม และแหล่งบันเทิงสำหรับนักพนันได้ดึงดูดเม็ดเงินมหาศาลจากนักท่องเที่ยว สร้างรายได้มหาศาลให้กับประเทศ

ปัจจุบันโมนาโกกลายเป็นศูนย์กลางด้านธนาคารและหันมาเน้นการดำเนินเศรษฐกิจภาคบริการและอุตสาหกรรมขนาดเล็ก ไม่สร้างมลภาวะ และมีมูลค่าเพิ่มสูง โมนาโกมีชื่อเสียงจากการเป็นดินแดนภาษีต่ำ ไม่เก็บภาษีรายได้ มีภาษีธุรกิจที่ต่ำ เป็นหนึ่งในสถานที่จัดแข่งขันรถสูตรหนึ่ง และเป็นบ้านเกิดของชาร์ล เลอแคร์ นักแข่งของทีมสกูเดเรียแฟร์รารี นอกจากนี้ สโมสรฟุตบอลอาแอ็ส มอนาโกที่แข่งขันอยู่ในลีกเอิงฝรั่งเศสก็ประสบความสำเร็จอย่างมาก ครองแชมป์ลีกสูงสุดได้หลายครั้ง

โมนาโกไม่ได้เข้าร่วมเป็นรัฐสมาชิกของสหภาพยุโรปอย่างเป็นทางการ แต่ปรับใช้นโยบายของสหภาพยุโรปบางประการเช่นเรื่องศุลกากรและด่านตรวจคนเข้าเมือง โมนาโกยังใช้เงินสกุลยูโร เข้าร่วมสภายุโรปเมื่อปี 2004 และเป็นสมาชิกขององค์การระหว่างประเทศของกลุ่มประเทศที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส

ประวัติศาสตร์

[แก้]

ชื่อของโมนาโกปรากฏขึ้นครั้งแรกตั้งแต่ 600 ปีก่อนคริสตกาล ในชื่อ "โมโนอิกอส" (Monoikos) มาจากการประสบคำว่า "โมนอส" (monos) ที่หมายถึงโดดเดี่ยว[15] และ "โออิกอส" (oikos) ที่หมายถึงบ้าน[16] รวมแล้วมีความหมายว่า "บ้านโดดเดี่ยว" น่าจะสื่อถึงวิธีการอยู่อาศัยของชาวพื้นเมืองในสมัยนั้นที่อาศัยอยู่เป็นบ้านโดดเดี่ยวแยกกันกับเพื่อนบ้าน

ยุคกลาง

[แก้]

โมนาโกเป็นอาณานิคมหนึ่งของสาธารณรัฐเจนัวในปี 1215 ต่อมาในปี 1297 ฟร็องซัว กรีมัลดี เจ้าที่ดินในเจนัวยุคศักดินาบุกเข้ายึดป้อมปราการโมนาโกบริเวณชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ด้วยการปลอมตัวเป็นบาทหลวง แล้วนำกองกำลังขนาดย่อมเข้ามาในดินแดนแห่งนี้ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการครอบครองโมนาโกของตระกูลกรีมัลดีตั้งแต่นั้นมา

ตระกูลกรีมัลดีปกครองโมนาโกอยู่ได้เพียง 4 ปี ก็ถูกกองทัพเจนัวขับออกจากดินแดน ต่อมาลอร์ดชาลส์ที่ 1 ก็สามารถกลับมาครอบครองโมนาโกได้อีกครั้งในปี 1331 แล้วทำการสถาปนาตนขึ้นเป็นลอร์ดแห่งโมนาโกและขยายดินแดนออกไปยังเมืองม็องตงและโรเกอบรูน และสร้างโมนาโกจนกลายเป็นเมืองท่าสำคัญ สำหรับการค้าและฐานทัพเรือสำคัญของยุโรป

หลังจากนั้นได้มีการสืบทอดตำแหน่งลอร์ดแห่งโมนาโกเรื่อยมาจนถึงปี 1489 พระเจ้าชาร์ลที่ 4 แห่งฝรั่งเศสและดยุคแห่งซาวอยได้รับรองความเป็นเอกราชของโมนาโก ต่อมาในปี 1512 พระเจ้าหลุยส์ที่ 12 แห่งฝรั่งเศสก็รับรองการเป็นพันธมิตรถาวรระหว่างโมนาโกกับฝรั่งเศส

อย่างไรก็ตาม เมื่อถึงยุคการปกครองของลอร์ดออกุสติน โมนาโกกลับไม่ได้รับการสนับสนุนจากขุนนางในราชสำนักฝรั่งเศส ทำให้เกิดความขัดแย้งรุนแรง จนกระทั่งจักรพรรดิคาร์ลที่ 5 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์มีพระบัญชาให้โมนาโกอยู่ภายใต้อารักขาของสเปนการปกครองโดยลอร์ดแห่งโมนาโกดำเนินเรื่อยมา จนถึงช่วงศตวรรษที่ 15 เมื่อลอร์ดจอห์นที่ 1 ลอร์ดแห่งโมนาโกได้กำหนดหลักเกณฑ์ในการสืบสันตติวงศ์ขึ้น นับเป็นก้าวสำคัญอีกก้าวหนึ่งในการสืบราชสมบัติของโมนาโก

เจ้าผู้ครองยุคแรกยังใช้ฐานันดรศักดิ์ว่า "ลอร์ด" มาจนถึงปี 1612 เมื่อลอร์ดโอโนเร่ที่ 2 ได้เปลี่ยนชื่อฐานันดรศักดิ์เป็นเจ้าชายแห่งโมนาโก[17] เพื่อให้มีวินัยถึงการเป็นรัฐและอิสรภาพ ซึ่งการเปลี่ยนชื่อฐานันดรศักดิ์นี้ได้รับการยอมรับจากฝรั่งเศสและสเปน เนื่องจากขณะนั้นโมนาโกยังอยู่ในอารักขาของสเปน

เจ้าชายโอโนเร่ที่ 2 ยังดำเนินนโยบายเป็นมิตรกับประเทศฝรั่งเศส จนพระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศสยอมลงนามในข้อตกลงว่าด้วยการช่วยเหลือและป้องกันการรุกรานจากฝรั่งเศส ถือเป็นการยืนยันและยอมรับความเป็นเอกราชของโมนาโก ไม่ขึ้นตรงต่อฝรั่งเศสอีกต่อไป แต่สเปนยังไม่ยินยอม เป็นเหตุให้เจ้าชายโอโนเร่ที่ 2 ประกาศสงครามกับสเปนและได้รับชัยชนะเป็นอิสระจากสเปนในปี 1641

อย่างไรก็ตามการสืบสันตติวงศ์นี้ ขาดช่วงลงเมื่อเจ้าชายอังตวนสิ้นพระชนม์ในปี 1731 โดยไม่มีพระโอรส มีแต่พระธิดาเท่านั้น แต่พระธิดาองค์โต หลุยส์ อิบโปลิบเต ได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสกับ ยากส์ ฟร็องซัวร์ เลโอเนอร์ เดอ มาติยง ทายาทตระกูลขุนนางแห่งแคว้นนอร์ม็องดี ในปี ค.ศ. 1715 ซึ่งต่อมาได้รับการสถาปนาให้เป็นเจ้าชายแห่งโมนาโก ทรงพระนามว่า เจ้าชายยากส์ที่ 1

คริสต์ศตวรรษที่ 19

[แก้]

ในปี 1793 โมนาโกถูกรุกรานโดยกองทัพปฏิวัติของฝรั่งเศส โมนาโกจึงตกเป็นรัฐอารักขาของฝรั่งเศสจนถึงปี 1814 เมื่อจักรพรรดินโปเลียนแพ้สงคราม ราชวงศ์กรีมัลดีจึงได้กลับคืนสู่ราชบัลลังก์[18][19]

ต่อมาในการประชุมใหญ่แห่งเวียนนาได้มีมติให้โมนาโกอยู่ภายใต้การอารักขาของราชอาณาจักรซาร์ดิเนีย[20] ในช่วงนี้ ชาวเมืองม็องตงและโรเกอบรูน-กัป-มาร์แต็งที่อยู่ภายใต้ตระกูลกรีมัลดีมานานกว่า 500 ปีต่างไม่พอใจที่ถูกเก็บภาษีอย่างหนัก จึงได้ประกาศอิสรภาพจากโมนาโก หวังจะรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของซาร์ดิเนีย แต่ฝรั่งเศสไม่เห็นด้วย

จนกระทั่งปี 1860 ซาร์ดิเนียถูกบีบให้คืนโมนาโก เคาน์ตีนิส และดัชชีซาวอย ให้กับฝรั่งเศสตามสนธิสัญญาตูริน[21] โมนาโกจึงกลับมาอยู่ภายใต้การอารักขาของฝรั่งเศสอีกครั้ง ต่อมาฝรั่งเศสได้ยึดครองม็องตงและโรเกอบรูน-กัป-มาร์แต็งเพื่อแลกกับการไม่ต้องจ่ายค่าปรับราว 4 ล้านฟรังก์[22] เหตุการณ์นี้นำไปสู่การลงนามในสนธิสัญญาฝรั่งเศส-โมนาโก เมื่อปี 1861 รับรองเอกราชของโมนาโกอย่างเป็นทางการ ดินแดนที่เสียไปนี้คิดเป็นร้อยละ 95 ของอาณาเขตเดิม ทำให้โมนาโกสูญเสียรายได้อย่างมหาศาล เจ้าชายชาลส์ที่ 3 และพระมารดาจึงได้ตั้งบ่อนกาสิโนขึ้น[23] โดยใช้ชื่อว่า "มงเต-การ์โล" (Monte Carlo) มีความหมายว่า "ภูเขาชาลส์" ซึ่งมาจากพระนามของเจ้าชายนั่นเอง[24] ธุรกิจกาสิโนประสบความสำเร็จอย่างมาก กลายเป็นแหล่งดึงดูดเม็ดเงินจากมหาเศรษฐีที่หวังจะมาใช้เงินและใช้ชีวิตอยู่ที่นี่[25] ความสำเร็จนี้ทำให้โมนาโกยกเลิกการเก็บภาษีจากประชาชนในปี 1869[26]

คริสต์ศตวรรษที่ 20

[แก้]
การปฏิวัติโมนาโกในปี 1910

ราชวงศ์กรีมัลดีปกครองโมนาโกในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาจนถึงปี 1910 ได้เกิดการปฏิวัติโมนาโกขึ้น มีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ในปีต่อมาและได้จำกัดอำนาจการบริหารของราชวงศ์ลง ต่อมาในปี 1918 มีการลงนามในสนธิสัญญาฝรั่งเศส-โมนาโกขึ้นอีกครั้งระบุให้ฝรั่งเศสให้ความคุ้มครองทางทหารแก่โมนาโก ท่าทีระหว่างประเทศของโมนาโกขึ้นกับผลประโยชน์ทางการเมือง การทหาร และเศรษฐกิจของฝรั่งเศส อย่างไรก็ตาม โมนาโกถูกกองทัพอิตาลีเข้ายึดครองในสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อด้วยการยึดครองของพรรคนาซีเยอรมนี และได้รับอิสรภาพในเวลาต่อมา

การสมรสระหว่างเจ้าชายแรนีเยที่ 3 กับเกรซ เคลลี กลายเป็นข่าวที่ทำให้โมนาโกได้รับความสนใจไปทั่วโลก

ในปี 1949 เจ้าชายแรนีเยที่ 3 ได้ขึ้นครองราชย์ต่อจากเจ้าชายหลุยส์ที่ 2 เป็นเจ้าผู้ครองที่ทำให้โมนาโกกลายเป็นที่รู้จักของคนทั่วโลก เพราะพระองค์ได้เข้าพิธีอภิเษกสมรสกับดาราภาพยนตร์สาวชาวอเมริกัน เกรซ เคลลี เมื่อปี 1956[27]

ในการแก้ไขรัฐธรรมนูญเมื่อปี 1962 โมนาโกยกเลิกโทษประหารชีวิต ให้สิทธิสตรีในการเลือกตั้ง และก่อตั้งศาลสูสุดแห่งโมนาโกเพื่อรับรองเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน

ในปี 1993 โมนาโกได้เข้าร่วมเป็นรัฐสมาชิกของสหประชาชาติโดยมีสิทธิออกเสียงเต็ม[28][29]

คริสต์ศตวรรษที่ 21

[แก้]

ในปี 2002 มีการลงนามสนธิสัญญาฉบับใหม่ระหว่างฝรั่งเศสกับโมนาโก ระบุว่า "หากราชวงศ์กรีมัลดีไม่มีทายาทสืบราชสันตติวงศ์ ราชรัฐจะยังคงเป็นอิสระแทนที่จะรวมกับฝรั่งเศส แต่การป้องกันประเทศยังเป็นหน้าที่รับผิดชอบของฝรั่งเศสอยู่"[30][31] ทำให้โมนาโกมีเสถียรภาพทางการเมืองมากขึ้น

เมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 2005 เจ้าชายแรนีเยที่ 3 ทรงมีพระชนมายุมากเกินกว่าจะบริหารราชการแผ่นดินได้ จึงทรงสละราชสมบัติให้กับเจ้าชายอาลแบร์ที่ 2 พระราชโอรสพระองค์เดียว[32] และ 6 วันต่อมา เจ้าชายแรนีเยที่ 3 ก็เสด็จสวรรคตหลังครองราชย์มาอย่างยาวนานกว่า 56 ปี ทำให้ทรงเป็นเจ้าผู้ครองที่ครองราชย์ยาวนานที่สุดของโมนาโก โดยเจ้าชายอาลแบร์ที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เป็นเจ้าผู้ครองโมนาโก โดยมีพระราชพิธีราชาภิเษกอย่างเป็นทางการในวันที่ 12 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 หลังพ้นช่วงไว้ทุกข์[33]

แผนที่การถมทะเลของโมนาโก

ในปี 2015 โมนาโกมีมติเป็นเอกฉันท์ให้มีการขยายดินแดนด้วยการถมทะเล เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนที่อยู่อาศัยและพื้นที่สีเขียวในบางพื้นที่ โดยมีการตั้งงบประมาณไว้ที่ 1 พันล้านยูโรและมีเป้าหมายจะสร้างอพาร์ทเมนต์ สวนสาธารณะ ร้านค้า และสำนักงานในพื้นที่ 6 เฮกเตอร์ใกล้กับแขวงลาร์วอโต[34]

การเมืองการปกครอง

[แก้]

การเมืองการปกครอง

[แก้]

ฝ่ายบริหาร

[แก้]

โมนาโกปกครองแบบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญมาตั้งแต่ปี 1911 โดยมีเจ้าผู้ครองเป็นประมุขแห่งรัฐ[35] และมนตรีแห่งรัฐเป็นหัวหน้ารัฐบาลที่มาจากการแต่งตั้งโดยเจ้าผู้ครองและเป็นประธานคณะที่ปรึกษารัฐบาล[36]

คณะที่ปรึกษารัฐบาล ประกอบด้วย ที่ปรึกษารัฐบาล 5 คน ดูแล 5 กรม (Département) ได้แก่

  • กรมมหาดไทย (Département de l'Intérieur)
  • กรมการคลังและเศรษฐกิจ (Département des Finances et de l'Economie)
  • กรมการสังคมและสาธารณสุข (Département des Affaires Sociales et de la Santé)
  • กรมการพัสดุ สิ่งแวดล้อม และผังเมือง (Département de l'Equipement, de l'Environnement et de l'Urbanisme)
  • กรมการต่างประเทศ (Département des Relations Extérieures)

ส่วนกรมการตุลาการ (Direction des Services Judiciaires) ซึ่งมีลักษณะใกล้เคียงกับกระทรวงยุติธรรม ดูแลกิจการศาล โดยเป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร มีหน้าที่ตัดสินคดีในนามของเจ้าผู้ครอง[37]

ก่อนหน้านี้มนตรีแห่งรัฐเป็นพลเมืองฝรั่งเศสที่ได้รับการแต่งตั้งโดยเจ้าผู้ครองจากบรรดาผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อโดยรัฐบาลฝรั่งเศส ต่อมาในปี 2002 ได้มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญ ให้มนตรีแห่งรัฐอาจเป็นชาวฝรั่งเศสหรือชาวโมนาโกก็ได้[38] และเมื่อวันที่ 1 กันยายน ค.ศ. 2020 เจ้าชายอาลแบร์ที่ 2 ได้แต่งตั้งปีแยร์ ดาร์ตูพลเมืองชาวฝรั่งเศส เข้ารับตำแหน่งมนตรีแห่งรัฐคนปัจจุบัน[39]

ฝ่ายนิติบัญญัติ

[แก้]

ภายใต้รัฐธรรมนูญ ค.ศ. 1962 อำนาจนิติบัญญัติอยู่ที่เจ้าผู้ครองและสภาแห่งชาติ[40] สมาชิกสภาแห่งชาติมี 24 คน วาระ 5 ปี โดย 16 คนได้รับเลือกผ่านระบบการเลือกตั้งเสียงข้างมาก และ 8 คนได้รับเลือกจากระบบการเลือกตั้งแบบสัดส่วน[41] มีหน้าที่อนุมัติกฎหมายทั้งหมดของประเทศ หลังจากการเลือกตั้งทั่วไปในปี 2023 ที่นั่งทั้งหมด 24 ที่นั่งเป็นของสหภาพแห่งชาติโมนาโกที่สนับสนุนระบอบกษัตริย์[42]

เนื่องจากโมนาโกเป็นทั้งประเทศและเมือง กิจการในฐานะเมืองจะอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของสภาชุมชน[43] ซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับเลือก 14 คน วาระ 4 ปี[44] และมีนายกเทศมนตรีเป็นประธาน[45]

ฝ่ายตุลาการ

[แก้]

สมาชิกฝ่ายตุลาการได้รับการแต่งตั้งโดยเจ้าผู้ครอง ตำแหน่งสำคัญภายในฝ่ายตุลาการดำรงตำแหน่งโดยผู้พิพากษาชาวฝรั่งเศส ซึ่งเสนอโดยรัฐบาลฝรั่งเศส ปัจจุบันโมนาโกมีผู้พิพากษา 3 คน[46]

เขตการปกครอง

[แก้]

โมนาโกแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 9 แขวง ได้แก่ ฌาร์แด็งแอกซอติก ฟงวีแยย์ มงเต-การ์โล มอนาโก-วีล ราแว็งเดอแซ็งต์-เดว็อต ลากงดามีน ลาร์วอโต ลารุส และเลมอเนอแกตี

ในปี 2015 โมนาโกมีมติเป็นเอกฉันท์ให้มีการขยายดินแดนด้วยการถมทะเล เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนที่อยู่อาศัยและพื้นที่สีเขียวในบางพื้นที่ ใกล้กับแขวงลาร์วอโต ซึ่งอาจมีการแบ่งเขตการปกครองเป็นแขวงที่ 10

ความมั่นคง

[แก้]
บรรษัทกองไรเฟิลในพระองค์

โมนาโกไม่มีกองทัพเรือหรือกองทัพอากาศ แต่มีจำนวนตำรวจต่อประชากรหรือพื้นที่มากที่สุดในโลก (ตำรวจ 515 นายต่อประชากรทั้งหมดประมาณ 36,000 คน)[47] กองตำรวจยังมีหน่วยพิเศษไว้ลาดตระเวนทางน้ำอีกด้วย[48] ส่วนการป้องกันประเทศเป็นหน้าที่ของฝรั่งเศส

กองทัพบกของโมนาโกมีเพียง 2 กอง กองหนึ่งมีหน้าที่ถวายความปลอดภัยต่อเจ้าผู้ครองและพระราชวัง เรียกว่า บรรษัทกองไรเฟิลในพระองค์ (Compagnie des Carabiniers du Prince)[49] ก่อตั้งโดยเจ้าชายโฮโนเรที่ 4 ในปี 1817[50] และอีกกองหนึ่งเป็นกองทหารติดอาวุธขนาดเล็ก (Sapeurs-Pompiers) รักษาความมั่นคงของพลเรือน[51]

การต่างประเทศ

[แก้]

เจ้าชายโอโนเร่ที่ 2 ทรงดำเนินนโยบายเป็นมิตรกับประเทศฝรั่งเศส จนพระเจ้าหลุยส์ที่ 8 แห่งฝรั่งเศสยอมลงนามในข้อตกลงว่าด้วยการช่วยเหลือและป้องกันการรุกรานจากฝรั่งเศส ถือเป็นการยืนยันและยอมรับความเป็นเอกราชของโมนาโก ไม่ขึ้นตรงต่อฝรั่งเศสอีกต่อไป แต่สเปนยังไม่ยินยอม เป็นเหตุให้เจ้าชายโอโนเร่ที่ 2 ประกาศสงครามกับสเปนและได้รับชัยชนะเป็นอิสระจากสเปนในปี 1641[52]

การลงนามในสนธิสัญญาฝรั่งเศส-โมนาโก เมื่อปี 1861 และการลงนามในสนธิสัญญาฝรั่งเศส-โมนาโกขึ้นอีกครั้งในปี 1918 ระบุให้ฝรั่งเศสให้ความคุ้มครองทางทหารแก่โมนาโก ท่าทีระหว่างประเทศของโมนาโกขึ้นกับผลประโยชน์ทางการเมือง การทหาร และเศรษฐกิจของฝรั่งเศส ถือเป็นการรับรองเอกราชของโมนาโกอย่างเป็นทางการ อย่างไรก็ตาม โมนาโกถูกกองทัพอิตาลีเข้ายึดครองในสงครามโลกครั้งที่ 2 ต่อด้วยการยึดครองของพรรคนาซีเยอรมนี และได้รับอิสรภาพในเวลาต่อมา

สถานเอกอัครราชทูตโมนาโก กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

ประเทศที่มีสถานทูตอยู่ในโมนาโกมีเพียง 2 ประเทศคือฝรั่งเศสและอิตาลี และมีสถานกงสุลอีกประมาณ 30 แห่ง ในขณะที่ประเทศอื่น ๆ ส่วนใหญ่เป็นตัวแทนผ่านสถานทูตในกรุงปารีส[53][54] คริสต์ศตวรรษที่ 21 โมนาโกมีสถานทูตในเบลเยียม (บรัสเซลส์) ฝรั่งเศส (ปารีส) เยอรมนี (เบอร์ลิน) วาติกัน อิตาลี (โรม) โปรตุเกส (ลิสบอน)[55] สเปน (มาดริด) สวิตเซอร์แลนด์ (แบร์น) สหราชอาณาจักร (ลอนดอน) และสหรัฐ (วอชิงตัน ดี.ซี.)[53]

ภูมิศาสตร์

[แก้]

ภูมิประเทศ

[แก้]
ภาพถ่ายทางดาวเทียมของโมนาโก แสดงพรมแดนที่ติดกับฝรั่งเศส

โมนาโกตั้งอยู่ในบริเวณเฟรนช์ริวีเอราในภูมิภาคยุโรปตะวันตก มีพรมแดนทางบกติดกับฝรั่งเศสทั้ง 3 ด้านยาว 5.47 กิโลเมตร[56] และอีกด้านหนึ่งติดกับทะเลเมดิเตอร์เรเนียนยาว 3.83 กิโลเมตร มีน่านน้ำกว้างออกไปในทะเลอีก 22 กิโลเมตร จุดกึ่งกลางประเทศอยู่ห่างจากชายแดนอิตาลี 16 กิโลเมตร และห่างจากเมืองนิสของฝรั่งเศส 13 กิโลเมตร

โมนาโกมีพื้นที่ 2.02 ตารางกิโลเมตร มีประชากรประมาณ 38,400 คน[29] ทำให้เป็นประเทศที่เล็กเป็นอันดับสองของโลกและมีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นที่สุดในโลก

จุดที่สูงสุดของประเทศคือ เชอแมงเดอเรวัวร์ส ในแขวงเลอเรวัวร์ส สูงจากระดับน้ำทะเล 164.4 เมตร ส่วนจุดที่ต่ำที่สุดของประเทศคือทะเลเมดิเตอร์เรเนียน[57]

ภาพถ่ายพาโนรามา ของลากงดามีนและมงเต-การ์โล

ภูมิอากาศ

[แก้]

Monaco has a hot-summer Mediterranean climate (Köppen climate classification: Csa), with strong maritime influences, with some resemblances to the humid subtropical climate (Cfa). As a result, it has balmy warm, dry summers and mild, rainy winters. The winters are very mild considering the city's latitude, being as mild as locations located much further south in the Mediterranean Basin.[58] Cool and rainy interludes can interrupt the dry summer season, the average length of which is also shorter. Summer afternoons are infrequently hot (indeed, temperatures greater than 30 °C หรือ 86 °F are rare) as the atmosphere is temperate because of constant sea breezes. On the other hand, the nights are very mild, due to the fairly high temperature of the sea in summer. Generally, temperatures do not drop below 20 °C (68 °F) in this season. In the winter, frosts and snowfalls are extremely rare and generally occur once or twice every ten years.[59][60] On 27 February 2018, both Monaco and Monte Carlo experienced snowfall.[61]

ข้อมูลภูมิอากาศของMonaco (1981–2010 averages, extremes 1966–present)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 19.9
(67.8)
23.2
(73.8)
25.6
(78.1)
26.2
(79.2)
30.3
(86.5)
32.5
(90.5)
34.4
(93.9)
34.5
(94.1)
33.1
(91.6)
29.0
(84.2)
25.0
(77)
22.3
(72.1)
34.5
(94.1)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 13.0
(55.4)
13.0
(55.4)
14.9
(58.8)
16.7
(62.1)
20.4
(68.7)
23.7
(74.7)
26.6
(79.9)
26.9
(80.4)
24.0
(75.2)
20.6
(69.1)
16.5
(61.7)
13.9
(57)
19.2
(66.6)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 10.2
(50.4)
10.2
(50.4)
12.0
(53.6)
13.8
(56.8)
17.5
(63.5)
20.9
(69.6)
23.8
(74.8)
24.2
(75.6)
21.1
(70)
17.9
(64.2)
13.8
(56.8)
11.2
(52.2)
16.4
(61.5)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 7.4
(45.3)
7.4
(45.3)
9.1
(48.4)
10.9
(51.6)
14.6
(58.3)
18.0
(64.4)
21.0
(69.8)
21.4
(70.5)
18.3
(64.9)
15.2
(59.4)
11.2
(52.2)
8.5
(47.3)
13.6
(56.5)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -3.1
(26.4)
-5.2
(22.6)
-3.1
(26.4)
3.8
(38.8)
7.5
(45.5)
9.0
(48.2)
10.5
(50.9)
12.4
(54.3)
10.5
(50.9)
6.5
(43.7)
1.6
(34.9)
-1.0
(30.2)
−5.2
(22.6)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 67.7
(2.665)
48.4
(1.906)
41.2
(1.622)
71.3
(2.807)
49.0
(1.929)
32.6
(1.283)
13.7
(0.539)
26.5
(1.043)
72.5
(2.854)
128.7
(5.067)
103.2
(4.063)
88.8
(3.496)
743.6
(29.276)
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 1.0 mm) 6.0 4.9 4.5 7.3 5.5 4.1 1.7 2.5 5.1 7.3 7.1 6.5 62.4
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 149.8 158.9 185.5 210.0 248.1 281.1 329.3 296.7 224.7 199.0 155.2 136.5 2,574.7
แหล่งที่มา 1: Météo France[62]
แหล่งที่มา 2: Monaco website (sun only)[63]

เศรษฐกิจ

[แก้]
ฟงวีแยย์กับท่าเรือแห่งใหม่

โมนาโกมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อหัว  153,177 ดอลลาร์สหรัฐสูงเป็นอันดับ 2 ของโลก[64] อัตราการว่างงานมีเพียง 2 เปอร์เซ็นต์[65] แรงงาน 48,000 ชีวิตเดินทางข้ามมาจากฝรั่งเศสและอิตาลีทุก ๆ วัน[66] โมนาโกเป็นประเทศที่มีอัตราความยากจนต่ำที่สุดในโลก[67] มีจำนวนมหาเศรษฐีเงินล้านและระดับพันล้านดอลลาร์สหรัฐต่อหัวประชากรสูงที่สุดในโลก[68] มีตลาดอสังหาริมทรัพย์ที่แพงที่สุดในโลกในปี ค.ศ. 2012 ที่ดินมีราคาถึง 58,300 ดอลลาร์สหรัฐต่อตารางเมตร[69][70][71]

ยังเป็นศูนย์กลางธนาคารที่ใหญ่ มีเงินหมุนเวียนถึง 100 พันล้านยูโร[72] ธนาคารในโมนาโกเน้นการให้บริการลูกค้ารายใหญ่และบริการจัดการทรัพย์สินและความมั่งคั่ง[73] ราชรัฐยังหวังจะขยายภาคเศรษฐกิจไปสู่อุตสาหกรรมขนาดเล็ก ไม่สร้างมลพิษ และมีมูลค่าสูง เช่นอุตสาหกรรมเครื่องสำอาง[74]

รัฐบาลยังคงผูกขาดการค้าในหลายภาคส่วน เช่น บุหรี่และไปรษณีย์ เครือข่ายโทรคมนาคมเคยเป็นของรัฐแต่ปัจจุบันรัฐถือครองหุ้นส่วนเพียง 45 เปอร์เซ็นต์ ส่วนที่เหลือเป็นของบริษัท Cable & Wireless Communications 49 เปอร์เซ็นต์ และธนาคาร Compagnie Monégasque de Banque อีก 6 เปอร์เซ็นต์ ยังคงเป็นเครือข่ายเดียวที่ให้บริการในประเทศ

มาตรฐานการครองชีพของโมนาโกนับว่าสูงเทียบเท่ากับเมืองใหญ่ของฝรั่งเศส[75] ปัจจุบันโมนาโกไม่ได้เป็นสมาชิกของสหภาพยุโรป แต่มีระบบศุลกากรร่วมกับฝรั่งเศส ใช้เงินสกุลยูโรเช่นเดียวกับฝรั่งเศส

เศรษฐกิจ

[แก้]
1978 Monégasque franc coin with an effigy of Rainier III

Monaco issued its own coins in various devaluations connected to the écu already in the seventeenth century, but its first decimal coins of the Monégasque franc were issued in 1837 continued until 2001.

Although Monaco is not a European Union member, it is allowed to use the euro as its currency by arrangement with the Council of the European Union; it is also granted the right to use its own designs on the national side of the euro coins, which was introduced in 2002.[76] In preparation for this date, the minting of the new euro coins started as early as 2001. Like Belgium, Finland, France, the Netherlands, and Spain, Monaco decided to put the minting date on its coins. This is why the first euro coins from Monaco have the year 2001 on them, instead of 2002, like the other countries of the Eurozone that decided to put the year of first circulation (2002) on their coins.[77] Three different designs were selected for the Monégasque coins.[78] The design was changed in 2006 after Prince Rainier's death to feature the effigy of Prince Albert.[78]

Monaco has a 20% VAT plus high social-insurance taxes, payable by both employers and employees. The employers' contributions are between 28% and 40% (averaging 35%) of gross salary, including benefits, and employees pay a further 10% to 14% (averaging 13%).[79]

Monaco has never levied income tax on individuals,[80] and foreigners are thus able to use it as a "tax haven" from their own country's high taxes, because as an independent country, Monaco is not obliged to pay taxes to other countries.[81][82]

The absence of a personal income tax has attracted many wealthy "tax refugee" residents from European countries, who derive the majority of their income from activity outside Monaco. Celebrities, such as Formula One drivers, attract most of the attention but the vast majority are lesser-known business people.[83]

Per a bilateral treaty with France, French citizens who reside in Monaco must still pay income and wealth taxes to France.[52] The principality also actively discourages the registration of foreign corporations, charging a 33 per cent corporation tax on profits unless they can show that at least three-quarters of turnover is generated within Monaco. Unlike classic tax havens, Monaco does not offer offshore financial services.[80]

In 1998, the Centre for Tax Policy and Administration, part of the Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD), issued a first report on the consequences of the financial systems of known tax havens.[84] Monaco did not appear in the list of these territories until 2004, when the OECD became indignant regarding the Monegasque situation and denounced it in a report, along with Andorra, Liechtenstein, Liberia, and the Marshall Islands. The report underlined Monaco's lack of co-operation regarding financial information disclosure and availability.[85][86] Later, Monaco overcame the OECD's objections and was removed from the "grey list" of uncooperative jurisdictions. In 2009, Monaco went a step further and secured a place on the "white list" after signing twelve information exchange treaties with other jurisdictions.[80]

In 2000, the Financial Action Task Force on Money Laundering (FATF) stated: "The anti-money laundering system in Monaco is comprehensive. Difficulties have been encountered with Monaco by countries in international investigations on serious crimes that appear to be linked also with tax matters. In addition, the FIU of Monaco (SICCFIN) suffers a great lack of adequate resources. The authorities of Monaco have stated that they will provide additional resources to SICCFIN."[87]

Also in 2000, a report by French politicians Arnaud Montebourg and Vincent Peillon stated that Monaco had relaxed policies with respect to money laundering including within its casino and that the Government of Monaco had been placing political pressure on the judiciary so that alleged crimes were not being properly investigated.[88] In its Progress Report of 2005, the International Monetary Fund (IMF) identified Monaco, along with 36 other territories, as a tax haven,[89] but in its FATF report of the same year it took a positive view of Monaco's measures against money-laundering.[90][91]

The Council of Europe also decided to issue reports naming tax havens. Twenty-two territories, including Monaco, were thus evaluated between 1998 and 2000 on a first round. Monaco was the only territory that refused to perform the second round, between 2001 and 2003, whereas the 21 other territories had planned to implement the third and final round, planned between 2005 and 2007.[92]

การท่องเที่ยว

[แก้]

แหล่งรายได้สำคัญของโมนาโกคือการท่องเที่ยว ทุกปีจะมีนักท่องเที่ยวเข้ามาเดิมพันในกาสิโนและพักผ่อนในสภาพอากาศที่อุ่นสบายเป็นจำนวนมาก[93][94]

Monte Carlo Casino

The plan for casino gambling was drafted during the reign of Florestan I in 1846. Under Louis-Philippe's petite-bourgeois regime a dignitary such as the Prince of Monaco was not allowed to operate a gambling house.[38] All this changed in the dissolute Second French Empire under Napoleon III. The House of Grimaldi was in dire need of money.

The towns of Menton and Roquebrune, which had been the main sources of income for the Grimaldi family for centuries, were now accustomed to a much-improved standard of living and lenient taxation thanks to the Sardinian intervention and clamoured for financial and political concession, even for separation. The Grimaldi family hoped the newly legal industry would help alleviate the difficulties they faced, above all the crushing debt the family had incurred, but Monaco's first casino would not be ready to operate until after Charles III assumed the throne in 1856.

The grantee of the princely concession (licence) was unable to attract enough business to sustain the operation and, after relocating the casino several times, sold the concession to French casino magnates François and Louis Blanc for 1.7 million francs.

The Blancs had already set up a highly successful casino (in fact the largest in Europe) in Bad-Homburg in the Grand Duchy of Hesse-Homburg, a small German principality comparable to Monaco, and quickly petitioned Charles III to rename a depressed seaside area known as "Les Spelugues (Den of Thieves)" to "Monte Carlo (Mount Charles)."[95] They then constructed their casino in the newly dubbed "Monte Carlo" and cleared out the area's less-than-savoury elements to make the neighbourhood surrounding the establishment more conducive to tourism.

The Blancs opened Le Grand Casino de Monte Carlo in 1858 and the casino benefited from the tourist traffic the newly built French railway system created.[96] Due to the combination of the casino and the railroads, Monaco finally recovered from the previous half-century of economic slump and the principality's success attracted other businesses.[97] In the years following the casino's opening, Monaco founded its Oceanographic Museum and the Monte Carlo Opera House, 46 hotels were built and the number of jewellers operating in Monaco increased by nearly five-fold. In an apparent effort to not overtax citizens, it was decreed that the Monégasque citizens were prohibited from entering the casino unless they were employees.[98] By 1869, the casino was making such a vast sum of money that the principality could afford to end tax collection from the Monegasques—a masterstroke that was to attract affluent residents from all over Europe in a policy that still exists today.

Today, Société des bains de mer de Monaco, which owns Le Grand Casino, still operates in the original building that the Blancs constructed and has since been joined by several other casinos, including the Le Casino Café de Paris, the Monte Carlo Sporting Club & Casino and the Sun Casino. The most recent[เมื่อไร?] addition in Monte Carlo is the Monte Carlo Bay Casino, which sits on 4 hectares of the Mediterranean Sea; among other things, it offers 145 slot machines, all equipped with "ticket-in, ticket-out" (TITO). It is the first Mediterranean casino to use this technology.[99]

ประชากร

[แก้]

ประชากรโมนาโกแบ่งตามสัญชาติ

  โมนาโก (21.6%)
  อิตาลี (18.7%)
  สวิส (2.5%)
  อื่น ๆ (14.8%)

ประชากร

[แก้]

ประเทศโมนาโกมีจำนวนประชากรประมาณ 38,400 คนในปี ค.ศ. 2015 และองค์การสหประชาชาติประเมินว่ามีประชากร 36,297 คน ณ วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 2023[100][101]ประชากรของโมนาโกไม่ปกติตรงที่ชาวโมนาโกพื้นเมืองเป็นชนกลุ่มน้อยในประเทศของตน โดยประชากรส่วนใหญ่คือชาวฝรั่งเศสร้อยละ 28.4 รองลงมาคือโมนาโกร้อยละ 21.6 อิตาลีร้อยละ 18.7 อังกฤษร้อยละ 7.5 เบลเยียมร้อนละ 2.8 เยอรมันร้อยละ 2.5 สวิสร้อยละ 2.5 และอเมริกันร้อยละ 1.2[102] ข้อมูลในปี 2000 เกือบ 2 ใน 3 ของประชากรโมนาโกเป็นชาวต่างชาติ[103] โดยในปี 2015 โมนาโกมีผู้อพยพเข้ามาในประเทศราวร้อยละ 60 ของประชากร[104] มีการระบุอัตราการอพยพประมาณ 4 คนต่อ 1,000 คน หรือประมาณ 100–150 คนต่อปี[105] และเป็นเรื่องยากที่จะได้รับสัญชาติโมนาโกหรืออย่างน้อยก็มีคนจำนวนไม่มากที่ได้รับสัญชาติโมนาโก ประชากรโมนาโกเพิ่มขึ้นจาก 35,000 คนในปี 2008 เป็น 36,000 คนในปี 2013 และมีชาวโมนาโกโดยกำเนิดเพียงร้อยละ 20[106]

ในปี 2019 พบว่ามีเศรษฐีในโมนาโกมากถึง 12,248 คน คิดเป็นร้อยละ 31 ของประชากรทั้งหมด

พลเมืองของโมนาโก ไม่ว่าจะเกิดในประเทศหรือโดยสัญชาติ จะถูกเรียกว่า Monégasque และประชากรโมนาโกมีอายุขัยเฉลี่ยสูงที่สุดในโลกประมาณ 90 ปี[107][108]

ภาษา

[แก้]
ป้ายตามถนนที่มีการพิมพ์เป็นภาษาฝรั่งเศสและโมนาโกในแขวงมอนาโก-วีล

ภาษาหลักและภาษาราชการของโมนาโกคือภาษาฝรั่งเศส ในขณะที่ภาษาอิตาลีมีการใช้พูดโดยชุมชนขนาดใหญ่ของชาวอิตาลี ภาษาถิ่นโมนาโกซึ่งเป็นภาษาพื้นถิ่นทางประวัติศาสตร์แต่กลับเป็นภาษาที่มีการใช้กันน้อยกว่าภาษาฝรั่งเศสและอิตาลีและไม่ได้รับการยอมรับว่าเป็นภาษาราชการ อย่างไรก็ตาม ป้ายบางป้ายปรากฏทั้งภาษาฝรั่งเศสและโมนาโก และมีการสอนภาษานี้ในโรงเรียนรวมถึงภาษาอังกฤษ

ภาษาอิตาลีเคยเป็นภาษาราชการของประเทศโมนาโกจนกระทั่งในปี 1860 มีการใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาราชการแทน[109] เนื่องจากมีการผนวกเทศมณฑลนีซที่อยู่โดยรอบของประเทศโมนาโกเข้ากับฝรั่งเศสตามสนธิสัญญาตูริน (ค.ศ. 1870)[109]

ราชวงศ์กรีมัลดีและเจ้าผู้ครองโมนาโกมีเชื้อสายลีกูเรีย ดังนั้นภาษาประจำชาติดั้งเดิมของโมนาโกคือภาษาถิ่นโมนาโก แต่ในปัจจุบันมีการพูดโดยประชากรส่วนน้อยเท่านั้น และเป็นภาษาที่สองทั่วไปของชาวพื้นเมืองจำนวนมาก อย่างไรก็ตามในแขวงมอนาโก-วีลป้ายตามถนนยังคงพิมพ์เป็นภาษาฝรั่งเศสและโมนาโก[110][111]

ศาสนา

[แก้]

Religion in Monaco according to the Global Religious Landscape survey by the Pew Forum, 2012[3]

  Christianity (86%)
  Unaffiliated (11.7%)
  Judaism (1.7%)
  Islam (0.4%)
  Other religions (0.2%)

ศาสนาคริสต์

[แก้]

Christians comprise a total of 86% of Monaco's population.[3]

According to Monaco 2012 International Religious Freedom Report, Roman Catholic Christians are Monaco's largest religious group, followed by Protestant Christians. The Report states that there are two Protestant churches, an Anglican church and a Reformed church. There are also various other Evangelical Protestant communities that gather periodically.

ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

[แก้]

According to the Monaco Statistics database (IMSEE), there are around 100 Hindus living in the country. [112]

ศาสนายิว

[แก้]

The Association Culturelle Israélite de Monaco (founded in 1948) is a converted house containing a synagogue, a community Hebrew school, and a kosher food shop, located in Monte Carlo.[113] The community mainly consists of retirees from Britain (40%) and North Africa. Half of the Jewish population is Sephardic, mainly from North Africa, while the other half is Ashkenazi.[114]

ศาสนาอิสลาม

[แก้]

The Muslim population of Monaco consists of about 280 people, most of whom are residents, not citizens.[115] The majority of the Muslim population of Monaco are Arabs, though there is a Turkish minority as well.[116] Monaco does not have any official mosques.[117]

การศึกษา

[แก้]

ประถมศึกษาและมัธยมศึกษา

[แก้]
Lycée Albert Premier of Monaco

Monaco has ten state-operated schools, including: seven nursery and primary schools; one secondary school, Collège Charles III;[118] one lycée that provides general and technological training, Lycée Albert 1er;[119] and one lycée that provides vocational and hotel training, Lycée technique et hôtelier de Monte-Carlo.[120] There are also two grant-aided denominational private schools, Institution François d'Assise Nicolas Barré and Ecole des Sœurs Dominicaines, and one international school, the International School of Monaco,[121][122] founded in 1994.[123]

อุดมศึกษา

[แก้]

There is one university located in Monaco, namely the International University of Monaco (IUM), an English-language university specialising in business education and operated by the Institut des hautes études économiques et commerciales (INSEEC) group.

วัฒนธรรม

[แก้]

อาหาร

[แก้]

The cuisine of Monaco is a Mediterranean cuisine shaped by the cooking style of Provence and the influences of nearby northern Italian and southern French cooking, in addition to Monaco's own culinary traditions.[124]

ดนตรี

[แก้]
Seaside façade of the Salle Garnier, home of the Opéra de Monte-Carlo

Monaco has an opera house, a symphony orchestra and a classical ballet company. Monaco participated regularly in the Eurovision Song Contest between 1959–1979 and 2004–2006, winning in 1971, although none of the artists participating for the principality was originally Monegasque.

ศิลปะ

[แก้]

Monaco has a national museum of contemporary visual art at the New National Museum of Monaco. In 1997, the Audiovisual Institute of Monaco was founded aimed to preserve audiovisual archives and show how the Principality of Monaco is represented in cinema. The country also has numerous works of public art, statues, museums, and memorials (see list of public art in Monaco).

Prince Albert of Monaco visited the Sassi di Matera on 22 April 2022, exploring the ancient districts.[125]

สถาปัตยกรรม

[แก้]

ในบรรดาสถาปัตยกรรมหลากหลายรูปแบบของโมนาโก สถาปัตยกรรมที่เด่นชัดคือแบบเบลล์เอป็อกที่ได้รับความนิยมช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเฉพาะในแขวงมงเต-การ์โล กาสิโนและโรงโอเปราแห่งมงเต-การ์โลเป็นตัวอย่างที่เด่นชัดของศิลปะประเภทนี้ สร้างขึ้นโดยชาร์ล กานิเยร์และฌูลส์ ดูตรู มีการตกแต่งหอคอย ระเบียง ยอดแหลมของอาคาร เซรามิกหลากสี และรูปปั้นประดับเสา สิ่งประดับต่าง ๆ ผสมเข้ากันอย่างลงตัว สร้างความประทับใจ ความรู้สึกหรูหรา โอ่โถง เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของโมนาโก[126] ศิลปะแบบฝรั่งเศส อิตาลี และสเปนเข้ามามีอิทธิพลกับการสร้างคฤหาสน์และอพาร์ทเมนต์ ในรัชสมัยของเจ้าชายเรนิเยที่ 3 มีกฎหมายห้ามสร้างอาคารสูงภายในราชรัฐ แต่ในรัชสมัยต่อมาของเจ้าชายอาลแบร์ที่ 2 มีการยกเลิกกฎนี้[127] ผลที่เกิดขึ้นคือมีการรื้อถอนมรดกทางสถาปัตยกรรมมากมายเพื่อสร้างตึกสูง[128] ในปัจจุบันยังไม่มีกฎหมายปกป้องมรดกทางวัฒนธรรมเหล่านี้

เทศกาล

[แก้]

The Principality of Monaco hosts major international events such as :

Monaco also has an annual bread festival on 17 September every year.[129]

กีฬา

[แก้]
Formation lap for the 1996 Monaco Grand Prix

Since 1929, the Monaco Grand Prix has been held annually in the streets of Monaco.[130] It is widely considered to be one of the most prestigious automobile races in the world. The erection of the Circuit de Monaco takes six weeks to complete and the removal after the race takes another three weeks.[130]

The circuit is narrow and tight and its tunnel, tight corners and many elevation changes make it perhaps the most demanding Formula One track.[131] Driver Nelson Piquet compared driving the circuit to "riding a bicycle around your living room".

Despite the challenging nature of the course it has only had two fatalities, Luigi Fagioli who died from injuries received in practice for the 1952 Monaco Grand Prix (run to sports car regulations that year, not Formula 1)[132] and Lorenzo Bandini, who crashed, burned and died three days later from his injuries in 1967.[133] Two other drivers had lucky escapes after they crashed into the harbour, the most famous being Alberto Ascari in the 1955 Monaco Grand Prix and Paul Hawkins, during the 1965 race.[130]

In 2020, the Monaco Grand Prix was cancelled for the first time since 1954 because of the global COVID-19 pandemic.

Monégasque Formula 1 drivers There have been five Formula One drivers from Monaco:

Formula E Starting in 2015 Formula E started racing biennially with the Historic Grand Prix of Monaco on the Monaco ePrix[134] and used a shorter configuration of the full Formula 1 circuit, keeping it around Port Hercules until 2021.

ROKiT Venturi Racing is the only motor racing team based in the principality, headquartered in Fontvieille.[135] The marque competes in Formula E and was one of the founding teams of the fully-electric championship. Managed by former racing drivers Susie Wolff (CEO) and Jérôme d'Ambrosio (Team Principal),[136] the outfit holds 16 podiums in the series to date including five victories. 1997 Formula One World Champion Jacques Villeneuve and eleven-time Formula One race winner Felipe Massa have raced for the team previously.[137][138] Ten-time Macau winner and 2021 vice World Champion Edoardo Mortara and Season 3 Formula E champion Lucas di Grassi currently race for the team.[139]

Monte Carlo Rally Since 1911 part of the Monte Carlo Rally has been held in the principality, originally held at the behest of Prince Albert I. Like the Grand Prix, the rally is organised by Automobile Club de Monaco. It has long been considered to be one of the toughest and most prestigious events in rallying and from 1973 to 2008 was the opening round of the World Rally Championship (WRC).[140] From 2009 until 2011, the rally served as the opening round of the Intercontinental Rally Challenge.[141] The rally returned to the WRC calendar in 2012 and has been held annually since.[142] Due to Monaco's limited size, all but the ending of the rally is held on French territory.

ฟุตบอล

[แก้]
Stade Louis II, home of AS Monaco FC

Monaco hosts two major football teams in the principality: the men's football club, AS Monaco FC, and the women's football club, OS Monaco. AS Monaco plays at the Stade Louis II and competes in Ligue 1, the first division of French football. The club is historically one of the most successful clubs in the French league, having won Ligue 1 eight times (most recently in 2016–17) and competed at the top level for all but six seasons since 1953. The club reached the 2004 UEFA Champions League Final, with a team that included Dado Pršo, Fernando Morientes, Jérôme Rothen, Akis Zikos and Ludovic Giuly, but lost 3–0 to Portuguese team FC Porto. French World Cup-winners Thierry Henry, Fabien Barthez, David Trezeguet, and Kylian Mbappe have played for the club. The Stade Louis II also played host to the annual UEFA Super Cup from 1998–2012 between the winners of the UEFA Champions League and the UEFA Europa League.

The women's team, OS Monaco, competes in the women's French football league system. The club plays in the local regional league, deep down in the league system. It once played in the Division 1 Féminine, in the 1994–95 season, but was quickly relegated.

The Monaco national football team represents the nation in association football and is controlled by the Monégasque Football Federation, the governing body for football in Monaco. Monaco is one of two sovereign states in Europe (along with the Vatican City) that is not a member of UEFA and so does not take part in any UEFA European Football Championship or FIFA World Cup competitions. They are instead affiliated with CONIFA, where they compete against other national teams that are not FIFA members. The team plays its home matches in the Stade Louis II.

Rugby

[แก้]

Monaco's national rugby team, as of April 2019, is 101st in the World Rugby Rankings.[143]

บาสเกตบอล

[แก้]

Multi-sport club AS Monaco owns AS Monaco Basket which was founded in 1928. They play in the top-tier European basketball league, the EuroLeague, and the French top flight, the LNB Pro A. They have three Pro A Leaders Cup, two Pro B (2nd-tier), and one NM1 (3rd-tier) championship. They play in Salle Gaston Médecin, which is part of Stade Louis II.

Professional boxing

[แก้]

Due in part to its position both as a tourist and gambling centre, Monaco has staged major professional boxing world title and non title fights from time to time; those include the Carlos Monzon versus Nino Benvenuti rematch,[144] Monzon's rematch with Emile Griffith,[145] Monzon's two classic fights with Rodrigo Valdes,[146][147] Davey Moore versus Wilfredo Benitez,[148] the double knockout-ending classic between Lee Roy Murphy and Chisanda Mutti (won by Murphy),[149] and Julio César Chávez, Sr. versus Rocky Lockridge.[150] All of the aforementioned contests took place at the first Stade Louis II or the second Stade Louis II stadiums.

กีฬาอื่น ๆ

[แก้]
A view of the 2011 Monaco Porsche Supercup. Motor racing is very popular, with one course encompassing almost the whole country.

The Monte-Carlo Masters is held annually in neighbouring Roquebrune-Cap-Martin, France, as a professional tournament for men as part of tennis's ATP Masters Series.[151] The tournament has been held since 1897. Golf's Monte Carlo Open was also held at the Monte Carlo Golf Club at Mont Agel in France between 1984 and 1992.

Monaco has a national Davis Cup team, which plays in the European/African Zone.

Monaco has also competed in the Olympic Games, although, no athlete from Monaco has ever won an Olympic medal. At the Youth Olympic Winter Games, Monaco won a bronze medal in bobsleigh.

The 2009 Tour de France, the world's premier cycle race, started from Monaco with a 15 km (9 mi) closed-circuit individual time trial starting and finishing there on the first day, and the 182 km (113 mi) second leg starting there on the following day and ending in Brignoles, France.[152]

Monaco has also staged part of the Global Champions Tour (International Show-jumping).[153] In 2009, the Monaco stage of the Global Champions tour took place between 25 and 27 June.

The Monaco Marathon is the only marathon in the world to pass through three countries, those of Monaco, France and Italy, before the finish at the Stade Louis II.

The Monaco Ironman 70.3 triathlon race is an annual event with over 1,000 athletes competing and attracts top professional athletes from around the world. The race includes a 1.9 km (1.2 mi) swim, 90 km (56 mi) bike ride and 21.1 km (13.1 mi) run.

Since 1993, the headquarters of the International Association of Athletics Federations,[154] the world governing body of athletics, is located in Monaco.[155] An IAAF Diamond League meet is annually held at Stade Louis II.[156]

A municipal sports complex, the Rainier III Nautical Stadium in the Port Hercules district consists of a heated saltwater Olympic-size swimming pool, diving boards and a slide.[157] The pool is converted into an ice rink from December to March.[157]

In addition to Formula One, the Circuit de Monaco hosts several support series, including FIA Formula 2, Porsche Supercup and Formula Regional Europe.[158] It has in the past also hosted Formula Three and Formula Renault.

From 10 to 12 July 2014 Monaco inaugurated the Solar1 Monte Carlo Cup, a series of ocean races exclusively for solar-powered boats.[159],[160]

The women team of the chess club CE Monte Carlo won the European Chess Club Cup several times.

Panoramic view of Monaco City and the port of Fontvieille

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Constitution de la Principauté". Council of Government. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 July 2011. สืบค้นเมื่อ 22 May 2008.
  2. Constitution de la Principaute ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เก็บถาวร 27 กันยายน 2011) (French): Art. 9., Principaute De Monaco: Ministère d'Etat (archived from the original on 27 September 2011).
  3. 3.0 3.1 3.2 "The Global Religious Landscape" (PDF). Pewforum.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 25 January 2017. สืบค้นเมื่อ 2 October 2015.
  4. "Monaco en Chiffres" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 November 2009. สืบค้นเมื่อ 15 November 2009.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์), Principauté de Monaco. Retrieved 7 June 2010.
  5. "Population on 1 January and is one of the smallest country. It is 2nd most smallest country". ec.europa.eu/eurostat. Eurostat. สืบค้นเมื่อ 4 February 2020.
  6. "Recensement de la Population 2016" (PDF) (ภาษาฝรั่งเศส). Institut Monégasque de la Statistique et des Études Économiques (IMSEE). February 2018. สืบค้นเมื่อ 10 February 2020.
  7. 7.0 7.1 "EUROPE :: MONACO". CIA.gov. Central Intelligence Agency. สืบค้นเมื่อ 4 February 2020.
  8. "GDP (current US$) - Monaco". data.worldbank.org. World Bank. สืบค้นเมื่อ 4 February 2020.
  9. "GDP per capita (current US$) - Monaco". data.worldbank.org. World Bank. สืบค้นเมื่อ 4 February 2020.
  10. "What side of the road do people drive on?". Whatsideoftheroad.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-04-13. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  11. The World Factbook - Rank Order - Area เก็บถาวร 2014-02-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (อังกฤษ)
  12. The World Factbook - Rank Order - Population เก็บถาวร 2011-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (อังกฤษ) ทำไปคำนวณกับพื้นที่
  13. "Population, total". World Bank. สืบค้นเมื่อ 2019-09-18.
  14. "Monte Carlo: The Birth of a Legend". SBM Group. สืบค้นเมื่อ 23 August 2013.
  15. "μόνος". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 June 2011. สืบค้นเมื่อ 29 June 2011.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์), Henry George Liddell, Robert Scott, A Greek-English Lexicon, on Perseus Digital Library
  16. "οἶκος". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 June 2011. สืบค้นเมื่อ 29 June 2011.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์), Henry George Liddell, Robert Scott, A Greek-English Lexicon, on Perseus Digital Library
  17. "Monaco – The Principality of Monaco". Monaco.me. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  18. "The History Of Monaco". Monacoangebote.de. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 มกราคม 2013. สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2012.
  19. "Important dates – Monaco Monte-Carlo". Monte-carlo.mc. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  20. "Important dates – Monaco Monte-Carlo". Monte-carlo.mc. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  21. "24 X 7". Infoplease.com. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  22. "History of Monaco". Monacodc.org. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  23. Englund, Steven (May 1, 1984). Grace of Monaco: An Interpretive Biography (Hardcover ed.). Doubleday. ISBN 978-0385188128.
  24. Bonarrigo, Sabrina. "Entretenir la flamme 'Monte-Carlo'". Monaco Hebdo. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 June 2016. สืบค้นเมื่อ 2 December 2017.{{cite web}}: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
  25. "MONACO". Tlfq.ulaval.ca. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-10. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  26. "Histoire de la Principauté – Monaco – Mairie de Monaco – Ma ville au quotidien – Site officiel de la Mairie de Monaco". Monaco-mairie.mc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 มิถุนายน 2012. สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2012.
  27. "Monaco – Principality of Monaco – Principauté de Monaco – French Riviera Travel and Tourism". Nationsonline.org. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  28. "24 X 7". Infoplease.com. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  29. 29.0 29.1 "CIA – The World Factbook". Cia.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-01. สืบค้นเมื่อ 22 March 2012.
  30. "History of Monaco. Monaco chronology". Europe-cities.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 มกราคม 2013. สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2012.
  31. "Monaco Military 2012, CIA World Factbook". Theodora.com. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  32. "Monaco Royal Family". Yourmonaco.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 June 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  33. "History of Monaco, Grimaldi family". Monte-Carlo SBM. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  34. "Monaco land reclamation project gets green light". rivieratimes.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 กันยายน 2015. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2015.
  35. "Monaco". State.gov. 16 November 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 August 2021. สืบค้นเมื่อ 22 March 2012.
  36. "Politics". Monaco-IQ. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 April 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  37. Les Institutions เก็บถาวร 2007-10-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Service Informatique du Ministère d'Etat (ฝรั่งเศส)
  38. 38.0 38.1 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ state1
  39. "History « Consulate General of Monaco". Monaco-Consulate.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 June 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  40. "Monaco: Government". GlobalEdge.msu.edu. 4 October 2004. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 July 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  41. "Monaco". Freedom House. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 November 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  42. Schminke, Tobias Gerhard (7 February 2023). "Single alliance wins all seats in 'historic' Monaco election". Euractiv. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 February 2023. สืบค้นเมื่อ 12 February 2023.
  43. "Deux listes pour une mairie". Monaco Hebdo. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 May 2013. สืบค้นเมื่อ 15 April 2013.
  44. "Le Conseil Communal – Mairie de Monaco". La Mairie de Monaco. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 January 2013. สืบค้นเมื่อ 15 April 2013.
  45. Mairie de Monaco. "Les élus". La Mairie de Monaco. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 May 2013. สืบค้นเมื่อ 15 April 2013.
  46. La justice à Monaco เก็บถาวร 2 ธันวาคม 2021 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน: "Les deux chefs de la cour d'appel, le premier président et le procureur général, sont des magistrats français."
  47. "Security in Monaco". Monte-carlo.mc. 13 May 2012. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 May 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  48. "Division de Police Maritime et Aéroportuaire". Gouv.mc (ภาษาฝรั่งเศส). 16 August 1960. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 July 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  49. "The Palace Guards – Prince's Palace of Monaco". Palais.mc. 27 January 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 April 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  50. "Compagnie des Carabiniers du Prince". Gouv.mc (ภาษาฝรั่งเศส). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 February 2012. สืบค้นเมื่อ 12 March 2013.
  51. "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 December 2013. สืบค้นเมื่อ 22 May 2012.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  52. 52.0 52.1 "France and Monaco". U.S. Department of State. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 February 2020. สืบค้นเมื่อ 21 May 2019.
  53. 53.0 53.1 "Monaco – Embassies and Consulates". embassypages.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 July 2015. สืบค้นเมื่อ 8 August 2015.
  54. Privacy And Power: A year In The Life Of Prince Albert Of Monaco. France: Java Films.
  55. "Portugal: Représentation de la Principauté de Monaco auprès de la République portugaise" (ภาษาฝรั่งเศส). Government of Monaco. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 March 2022. สืบค้นเมื่อ 19 April 2022.
  56. Monaco, Government of. ""monaco statistics pocket" / Publications / IMSEE - Monaco IMSEE". Monacostatistics.mc.
  57. Highest point at ground level (Access to Patio Palace on D6007) "Monaco Statistics pocket – Edition 2014" (PDF). Monaco Statistics – Principality of Monaco.
  58. "Monaco weather, climate and geography". Worldtravelguide.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 August 2012. สืบค้นเมื่อ 6 September 2012.
  59. "Snow in Casino Square!". Monte Carlo Daily Photo. 19 December 2009. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 January 2013. สืบค้นเมื่อ 6 September 2012.
  60. "Monaco – Weather / Monaco Official Site". Visitmonaco.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 June 2012. สืบค้นเมื่อ 6 September 2012.
  61. "In Pictures: French Riviera hit by snowfall". The Local France. 26 February 2018. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 August 2018. สืบค้นเมื่อ 7 November 2018.
  62. "Monaco (99)" (PDF). Fiche Climatologique: Statistiques 1981–2010 et records (ภาษาฝรั่งเศส). Meteo France. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 27 February 2018. สืบค้นเมื่อ 26 February 2018.
  63. "Climatological information for Monaco" (ภาษาฝรั่งเศส). Monaco Tourist Authority. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 March 2018. สืบค้นเมื่อ 2 March 2018.
  64. "The World Bank Group". The World Bank Group. สืบค้นเมื่อ 18 September 2019.
  65. "Central Intelligence Agency". Cia.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-21. สืบค้นเมื่อ 22 March 2012.
  66. "Plan General De La Principaute De Monaco" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 28 พฤษภาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2012.
  67. "Monaco Economy 2012, CIA World Factbook". Theodora.com. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  68. Alleyne, Richard (4 October 2007). "Prince Albert: We want more for Monaco". The Daily Telegraph. London. สืบค้นเมื่อ 22 March 2012.
  69. Katya Wachtel (28 March 2012). "The Wealth Report 2012" (PDF). Citi Private Bank. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  70. Robert Frank (28 March 2012). "The Most Expensive Real-Estate in the World". The Wall Street Journal. สืบค้นเมื่อ 6 March 2013.
  71. Julie Zeveloff (7 March 2013). "Here Are The World's Most Expensive Real Estate Markets". Business Insider. สืบค้นเมื่อ 7 March 2013.
  72. Robert BOUHNIK (19 December 2011). "Home > Files and Reports > Economy(Gb)". Cloud.gouv.mc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 July 2012. สืบค้นเมื่อ 22 March 2012.
  73. "Banks in Monaco".
  74. "Monaco Economy 2012, CIA World Factbook". Theodora.com. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  75. "CIA – The World Factbook". Cia.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-01. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  76. "Monaco Euro Coins". Eurocoins.co.uk. 1 January 2002. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 July 2019. สืบค้นเมื่อ 11 May 2017.
  77. "ECB: Monaco". Ecb.int. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 March 2012. สืบค้นเมื่อ 22 March 2012.
  78. 78.0 78.1 "Monaco – The Museum of Stamps and Coins". Visitmonaco.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 December 2011. สืบค้นเมื่อ 22 March 2012.
  79. "Monaco Personal Taxation". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 November 2010. สืบค้นเมื่อ 28 May 2010.
  80. 80.0 80.1 80.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ telegraph
  81. "Monaco might not charge residents income tax, but it's no tax haven". The Daily Telegraph. London. 16 February 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 January 2022. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  82. "Monaco Country and Foreign Investment Regime". Lowtax.net. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 May 2012. สืบค้นเมื่อ 22 March 2012.
  83. David Leigh (10 July 2006). "The tax haven that today's super-rich City commuters call home". The Guardian. London. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 September 2013. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  84. "Obscure Tax Havens". Escapeartist.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 June 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  85. Declaration of 18 April 2004, by the representative of the OECD Centre for Tax Policy and Administration Gabriel Makhlouf regarding the list of alleged tax havens non-cooperative countries comparable
  86. Stage Report 2004: Project of OECD on the detrimental tax practices, OECD, Paris, 2004
  87. "Review to Identify Non-Cooperative Countries or Territories: Increasing the Worldwide Effectiveness of Anti-Money Laundering Measures" (PDF). Paris: Financial Action Task Force on Money Laundering. 22 June 2000. p. 8. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 26 July 2011. สืบค้นเมื่อ 23 May 2009.
  88. "Assemblee-Nationale report". Assemblee-nationale.fr. 27 July 1987. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 August 2010. สืบค้นเมื่อ 28 August 2010.
  89. Financial Centres with Significant Offshore Activities in Offshore Financial Centres. The Assessment Program. A Progress Report Supplementary Information, IMF, Washington, 2005
  90. Review to Identify Non-Cooperative Countries or Territories: Increasing the Worldwide Effectiveness of Anti-Money Laundering Measures, FATF, Paris, 2005
  91. Review to Identify Non-Cooperative Countries or Territories: Increasing the Worldwide Effectiveness of Anti-Money Laundering Measures, FATF, Paris, 2006
  92. First Mutual Evaluation Report on the Principality of Monaco, Moneyval, Strasbourg, 2003
  93. "Monaco's Areas / Monaco Official Site". Visitmonaco.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 January 2013. สืบค้นเมื่อ 12 March 2013.
  94. "Monaco: Economy >> globalEDGE: Your source for Global Business Knowledge". Globaledge.msu.edu. สืบค้นเมื่อ 22 March 2012.
  95. "History of Monte Carlo Casino". Craps Dice Control. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 April 2012. สืบค้นเมื่อ 28 April 2012.
  96. "Rick Steves' Europe: Little Europe: San Marino, Monaco, Vatican City, Liechtenstein, and Andorra". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 November 2012. สืบค้นเมื่อ 27 April 2012.
  97. "Rick Steves Europe: Little Europe: Five Microcountries". Ricksteves.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 July 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  98. Keremcan (23 August 2016). "Why Do Monaco Laws Forbid Locals from Gambling?". Gambling Herald. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 December 2017. สืบค้นเมื่อ 7 December 2017.
  99. Porter, D.; D. Prince (2006). Frommer's Provence and the Riviera (Fifth. ed.). Wiley Publishing Inc.
  100. "Monaco Statistics office". Monacostatistics.mc. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 March 2016. สืบค้นเมื่อ 3 August 2017.
  101. "Monaco Population 2023 (Live)". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 October 2021. สืบค้นเมื่อ 22 April 2023.
  102. "General Population Census 2008: Population Recensee et Population Estimee" (PDF) (ภาษาฝรั่งเศส). Government of the Principality of Monaco. 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 14 June 2011. สืบค้นเมื่อ 7 October 2011.
  103. "Monaco". encyclopedia.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 July 2015. สืบค้นเมื่อ 8 August 2015.
  104. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Monaco
  105. "The World Factbook". cia.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 September 2015. สืบค้นเมื่อ 8 August 2015.
  106. "Monaco". populationfun.com. 19 September 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 October 2015. สืบค้นเมื่อ 8 August 2015.
  107. "CIA World Factbook, Monaco". Cia.gov. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 December 2021. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  108. "International Rankings of Monaco - 2018". Theodora.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 July 2018. สืบค้นเมื่อ 4 July 2018.
  109. 109.0 109.1 "Il monegasco, una lingua che si studia a scuola ed è obbligatoria" (ภาษาอิตาลี). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 August 2022. สืบค้นเมื่อ 6 June 2022.
  110. "Society". Monaco-IQ. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 September 2019. สืบค้นเมื่อ 6 September 2012.
  111. "Principality of Monaco – Monaco Monte-Carlo". Monte-carlo.mc. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 September 2012. สืบค้นเมื่อ 6 September 2012.
  112. "Statistical tables / Population census / Population and employment / IMSEE - Monaco IMSEE". www.monacostatistics.mc. สืบค้นเมื่อ 2023-12-12.
  113. "Synagogues in Monte Carlo – Shuls in Monte Carlo – Jewish Temples in Monte Carlo". Mavensearch.com. 6 July 2007. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 October 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  114. Details at Jewish Virtual Library เก็บถาวร 15 กรกฎาคม 2014 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  115. Simon Rogers (28 January 2011). "Muslim populations by country: how big will each Muslim population be by 2030?". the Guardian. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 August 2013. สืบค้นเมื่อ 12 December 2016.
  116. "Islam in Monaco". muslimpopulation.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 June 2017. สืบค้นเมื่อ 11 March 2015.
  117. "Islam in Monaco". islamicpopulation.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2016. สืบค้นเมื่อ 11 March 2015.
  118. "Collège Charles III". College-charles3.mc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 May 2011. สืบค้นเมื่อ 28 August 2010.
  119. "Lycée Albert 1er". Lycee-albert1er.mc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 July 2011. สืบค้นเมื่อ 28 August 2010.
  120. "Lycée technique et hôtelier de Monte-Carlo" (ภาษาฝรั่งเศส). Monaco. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 July 2011. สืบค้นเมื่อ 23 May 2009.
  121. "The International School Of Monaco". ismonaco.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 October 2013. สืบค้นเมื่อ 6 May 2014.
  122. "Education System". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 January 2013. สืบค้นเมื่อ 15 February 2013.
  123. "School Website". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 April 2017. สืบค้นเมื่อ 19 April 2017.
  124. John J. B. Anderson and Marilyn C. Sparling, The Mediterranean Way of Eating: Evidence for Chronic Disease Prevention and Weight Management (Florida: CRC Press, 2015) 16.
  125. "Prince Albert of Monaco visits Sassi di Matera - General news". ANSAMed (ภาษาอังกฤษ). 2022-04-22. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 April 2022. สืบค้นเมื่อ 2022-04-22.
  126. Novella, René; Sassi, Luca Monaco : eight centuries of art and architecture, Epi Communication, 2015
  127. Fair, Vanity. "La tour Odéon, l'histoire d'un chantier dont les malheurs ont atteint des sommets". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 สิงหาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 7 สิงหาคม 2016.
  128. Lyall, Sarah; Baume, Maïa de la Development Blitz Provokes a Murmur of Dissent in Monaco, New York Times, 11 December 2013; https://www.nytimes.com/2013/12/12/world/europe/development-blitz-provokes-a-murmur-of-dissent-in-monaco.html
  129. "Archived copy". officialmonaco.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 March 2022. สืบค้นเมื่อ 22 May 2022.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  130. 130.0 130.1 130.2 "Monaco Grand Prix". 3 March 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 March 2012.
  131. liam mcmurray, lesley kazan-pinfield. "Monaco Formula One Grand Prix". Monaco-f1grandprix.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 October 2012. สืบค้นเมื่อ 6 September 2012.
  132. Kettlewell, Mike. "Monaco: Road Racing on the Riviera", in Northey, Tom, editor. World of Automobiles (London: Orbis, 1974), Volume 12, p.1383.
  133. "Hulme Wins Monte Carlo; Bandini Hurt", Sheboygan Press, 8 May 1967, Page 13.
  134. Watkins, Gary. "Formula E set to race on shorter version of Monaco circuit". Autosport.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 May 2019. สืบค้นเมื่อ 12 May 2019.
  135. "Leonardo DiCaprio forms racing team to help speed up electric car sales". BBC News. 9 December 2013. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 April 2021. สืบค้นเมื่อ 26 April 2021.
  136. Kalinauckas, Alex (26 June 2018). "Ex-Williams F1 tester Susie Wolff becomes Venturi FE team principal". Autosport.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 April 2021. สืบค้นเมื่อ 26 April 2021.
  137. Hensby, Paul (7 August 2015). "Villeneuve joins Sarrazin at Venturi Grand Prix". thecheckeredflag.co.uk. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 April 2021. สืบค้นเมื่อ 26 April 2021.
  138. Smith, Topher. "VENTURI ANNOUNCES MASSA FOR SEASON FIVE". e-racing.net. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 April 2021. สืบค้นเมื่อ 26 April 2021.
  139. Kew, Matt (15 September 2021). "Di Grassi joins Venturi Formula E squad alongside Mortara". Autosport.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 January 2022. สืบค้นเมื่อ 24 January 2022.
  140. Federall. "ACM – Automobile Club de Monaco". Acm.mc. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 November 2012. สืบค้นเมื่อ 6 September 2012.
  141. "Rallye Monte Carlo Historique". The Daily Telegraph. London. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 January 2022. สืบค้นเมื่อ 6 September 2012.
  142. "2012 World Rally Championship events announced". wrc.com. 27 April 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 January 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  143. "Men's Rankings". World Rugby. 14 April 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 June 2020. สืบค้นเมื่อ 22 April 2019.
  144. "BoxRec: Event". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 October 2021. สืบค้นเมื่อ 21 October 2021.
  145. "BoxRec: Event". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 October 2021. สืบค้นเมื่อ 21 October 2021.
  146. "BoxRec: Event". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 October 2021. สืบค้นเมื่อ 21 October 2021.
  147. "BoxRec: Event". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 October 2021. สืบค้นเมื่อ 21 October 2021.
  148. "BoxRec: Event". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 October 2021. สืบค้นเมื่อ 21 October 2021.
  149. "BoxRec: Event". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 October 2021. สืบค้นเมื่อ 21 October 2021.
  150. "BoxRec: Event". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 October 2021. สืบค้นเมื่อ 21 October 2021.
  151. "Tennis – Tournament Fact Sheet". Monte-Carlo Rolex Masters. 30 September 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 June 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  152. "Tour de France 2008 – Grand start 2009". Letour.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 January 2013. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  153. "Monte-Carlo". Global Champions Tour. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 September 2012. สืบค้นเมื่อ 6 September 2012.
  154. "Headquarters". iaaf.org. 10 June 1994. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 June 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  155. "Inside IAAF Intro". iaaf.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 June 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  156. "Usain BOLT and Yelena ISINBAEVA for Herculis". Diamondleague-monaco.com. 30 April 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 May 2012. สืบค้นเมื่อ 28 May 2012.
  157. 157.0 157.1 "Rainer III Nautical Stadium". Marie de Monaco – Rainier III Nautical Stadium. Marie de Monaco. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 May 2013. สืบค้นเมื่อ 25 May 2013.
  158. "78th Monaco Grand Prix 2021". www.monacograndprixticket.com. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 November 2020. สืบค้นเมื่อ 18 December 2020.
  159. The Riviera Times, Issue 148, July 2014
  160. "Monte-Carlo Cup" (PDF). Solar1races.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 10 October 2017. สืบค้นเมื่อ 3 August 2017.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]