ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Kelos omos1/การทัพกัลลิโพลี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การทัพกัลลิโพลี
ส่วนหนึ่งของ เขตสงครามตะวันออกกลาง ใน สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

คอลเลคชั่นของภาพถ่ายของการทัพ จากบนและซ้ายถึงขวา: ผู้บัญชาการทหารรวมทั้งมุสทาฟา เคมัล (ด้านหน้าจากด้านซ้าย); เรือรบของฝ่ายสัมพันธมิตร; หาดวี จากดาดฟ้าหัวเรือของเรือเอ็สเอ็ส ไคลด์; ทหารออตโตมันในสนามเพลาะ; และตำแหน่งของฝ่ายสัมพันธมิตร
วันที่25 เมษายน 1915 – 9 มกราคม 1916
(8 เดือน 2 สัปดาห์ และ 1 วัน)
สถานที่
ผล จักรวรรดิออตโตมันชนะ
คู่สงคราม

สหราชอาณาจักร จักรวรรดิบริติช

สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3

 จักรวรรดิออตโตมัน สนับสนุนทางการทหาร

 เยอรมนี[1]
 ออสเตรีย-ฮังการี[2]
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
หน่วยที่เกี่ยวข้อง
สหราชอาณาจักร Mediterranean Expeditionary Force
Egyptian Labour Corps[3]
Maltese Labour Corps[3]
Oriental Expeditionary Corps
จักรวรรดิออตโตมัน Fifth Army
กำลัง

5 divisions (initial)
15 divisions (final)
Total: 568,000

  • 455,000 British (including Indians and Newfoundlanders)
  • 79,000 French[4]
  • ~50,000 Australians
  • ~14–17,000 New Zealanders

Supported by

~2,000 civilian labourers[3]

6 divisions (initial)
16 divisions (final)

Total: 315,500[4]
ความสูญเสีย
252,000[5] 218,000 – 251,000[5]
แม่แบบ:Campaignbox Gallipoliแม่แบบ:WWITheatre

การทัพกัลลิโพลี ยังเป็นที่รู้จักกันคือ การทัพดาร์ดะเนลส์ ยุทธการที่กัลลิโพลี หรือ ยุทธการที่ชานักคาแล(ตุรกี: Çanakkale Savaşı) เป็นการทัพในสงครามโลกครั้งที่หนึ่งที่เกิดขึ้นบนคาบสมุทรกัลลิโพลี(ปัจจุบันคือ เกลิโบลูในประเทศตุรกี) ตั้งแต่วันที่ 17 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1915 ถึง 9 มกราคม ค.ศ. 1916 ฝ่ายมหาอำนาจไตรภาคี ได้แก่ บริติช ฝรั่งเศส และรัสเซีย ได้พยายามที่จะทำให้จักรวรรดิออตโตมันอ่อนแอลง หนึ่งสมาชิกประเทศในฝ่ายมหาอำนาจกลาง โดยเข้าควบคุมช่องแคบที่เป็นเส้นทางการขนส่งสินค้าไปยังจักรวรรดิรัสเซีย การโจมตีป้อมปราการออตโตมันของฝ่ายสัมพันธมิตรที่ทางเข้าของช่องแคบดาร์ดะเนลส์ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1915 ได้ประสบความล้มเหลว และตามมาด้วยการยกพลขึ้นบกบนคาบสมุทรกัลลิโพลีในเดือนเมษายน ค.ศ. 1915 เพื่อเข้ายึดครองกรุงอิสตันบลู(คอนสแตนติโนเปิล) เมืองหลวงของออตโตมัน[6]

ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1916 ภายหลังการสู้รบแปดเดือน มีผู้เสียชีวิตประมาณ 250,000 คนในแต่ละฝ่าย การทัพทางภาคพื้นดินได้ถูกละทิ้งและถอนกำลังในการบุกครอง มันเป็นความพ่ายแพ้ที่มีค่ามากสำหรับฝ่ายมหาอำนาจไตรภาคี และสำหรับผู้ให้การสนับสนุน โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ ลอร์ดที่หนึ่งแห่งกระทรวงทหารเรือ (ค.ศ. 1911- ค.ศ. 1915) วินสตัน เชอร์ชิล การทัพดังกล่าวได้ถือเป็นชัยชนะที่ยิงใหญ่ของออตโตมัน ในตุรกี ได้ถือว่าเป็นส่วนเวลาที่ถูกกำหนดไว้ในประวัติศาสตร์ของรัฐ การโจมตีแบบระลอกครั้งสุดท้ายในการปกป้องมาตุภูมิ เมื่อจักรวรรดิออตโตมันได้ล่าถอย การต่อสู้รบดังกล่าวได้กลายเป็นพื้นฐานของสงครามประกาศอิสรภาพตุรกีและการประกาศสถาปนาสาธารณรัฐตุรกีในอีกแปดปีต่อมา โดยมีมุสทาฟา เคมัล อาทาทืร์ค ผู้ซึ่งมีชื่อเสียงในฐานะผู้บัญชาการทหารที่กัลลิโพลี ในฐานะผู้ก่อตั้งและประธานาธิบดี

การทัพดังกล่าวมักจะถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของจิตสำนึกแห่งชาติของออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ วันที่ 25 เมษายน ซึ่งเป็นวันครบรอบของการยกพลขึ้นบกหรือที่เรียกว่า วันแอนแซก ซึ่งเป็นวันที่รำลึกถึงทหารผู้เสียชีวิตและทหารผ่านศึกที่สำคัญที่สุดในสองประเทศ ซึ่งดูดีกว่า วันแห่งการรำลึก(วันสงบศึก)[7][8][9]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Travers 2001, p. 13.
  2. Jung 2003, pp. 42–43.
  3. 3.0 3.1 3.2 Aspinall-Oglander 1929, p. 395.
  4. 4.0 4.1 Erickson 2001a, pp. 94–95.
  5. 5.0 5.1 Erickson 2001a, p. 94.
  6. Aspinall-Oglander 1929, pp. 51–52.
  7. Dennis 2008, pp. 32, 38.
  8. Lewis, Balderstone & Bowan 2006, p. 110.
  9. McGibbon 2000, p. 198.

หนังสือเพื่มเติม

[แก้]
  • Basarin, Vecihi; Basarin, Hatice Hurmuz (2008). Beneath the Dardanelles: The Australian Submarine at Gallipoli. Crows Nest, New South Wales: Allen & Unwin. ISBN 9781741755954.
  • Bean, Charles (1941) [1921]. The Story of ANZAC from the Outbreak of War to the End of the First Phase of the Gallipoli Campaign, May 4, 1915. Official History of Australia in the War of 1914–1918. Vol. I (11th ed.). Sydney: Angus and Robertson. OCLC 220878987.
  • Carlyon, Les (11 November 2004). "Australian War Memorial Anniversary Oration: Gallipoli in a Nation's Remembrance (soundtrack and text)". Australian War Memorial. สืบค้นเมื่อ 7 December 2008.
  • Erickson, Edward J. (2007). Ottoman Army Effectiveness in World War I: A Comparative Study. Military History and Policy, No. 26. Milton Park, Abingdon, Oxon: Routledge. ISBN 978-0-203-96456-9. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |editors= ถูกละเว้น แนะนำ (|editor=) (help)
  • Gilbert, Martin (2004). The First World War: A Complete History. New York: Henry Holt and Co. ISBN 0-8050-7617-4.
  • Hart, Peter (2011). Gallipoli. London: Profile Books. ISBN 978-1-84668-159-2.
  • Kraaijestein, Martin; Schulten, Paul (2009). Het Epos van Gallipoli. Feiten, verhalen en mythen over de geallieerde aanval op Turkije tijdens de Eerste Wereldoorlog [The Epic of Gallipoli. Facts, Stories and Myths about the Allied Attack on Turkey during World War I] (ภาษาดัตช์). Soesterberg: Uitgeverij Aspekt. ISBN 978-90-5911-758-7.
  • Kyle, Roy (2003). An Anzac's Story. Camberwell: Penguin. ISBN 0-14-300187-6.
  • Laffin, John (1980). Damn the Dardanelles!: The Story of Gallipoli. London: Osprey. ISBN 0-85045-350-X. OCLC 7770209.
  • Özdemir, H. (2008) [2005]. The Ottoman Army: Disease and Death on the Battlefield 1914–1918. Salt Lake City, Utah: University of Utah Press. ISBN 978-1-60781-964-6.
  • Tyquin, Michael (1993). Gallipoli: The Medical War. Sydney: University of New South Wales Press. ISBN 978-0-86840-189-8.
  • Uyar, Mesut (2015). The Ottoman Defence Against The Anzac Landing. Australian Army Campaigns Series. Vol. 16. Newport, New South Wales: Big Sky Publishing. ISBN 9781925275018.
  • Waite, Fred (1919). The New Zealanders at Gallipoli. Official History New Zealand's Effort in the Great War. Vol. I. Auckland, New Zealand: Whitcombe and Tombs. OCLC 8003944.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]