ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:Iuwday/ทดลองเขียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี


การใช้งาน

[แก้]


ทอลอง 1

[แก้]

ห้าผู้บริหาร หรือ โกบุเกียว (ญี่ปุ่น: Go-Bugyōโรมาจิ五奉行, คณะห้าบริหาร, ห้าผู้ตรวจการ )

พงศาวลี

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

เซี่ยวติ้งฮองไทเฮา

[แก้]
สมเด็จพระจักรพรรดินีเซี่ยวติ้ง
พระบรมราชชนนีพันปีหลวง
สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง
ดำรงพระยศพ.ศ. 2115 - 18 มีนาคม พ.ศ. 2157
(42 ปี 108 วัน)
ก่อนหน้าจักรพรรดินีเซี่ยวคังจิ้ง

พระนามเรียกขานพระจิ่วเหลียนโพธิสัตว์
(九莲菩萨)
หมายถึง โพธิสัตว์เก้าดอกบัว
พระราชสมภพ19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2089
สวรรคต18 มีนาคม พ.ศ. 2157
(67 พรรษา)
ฝังพระบรมศพพระราชสุสานหมิงจาว
(明昭陵)
พระนามทั้งหมด
พระสมัญญานาม
เซี่ยวติ้ง เจินฉุน ชินเหริน ตวนซู ปี้เทียน จั้วเซิ่ง ฮองไทเฮา
(孝定贞纯钦仁端肃弼天祚圣皇太后)
พระราชสวามีหมิงมู่จง
พระราชบิดาอันกั๋วกง (หลี่)
พระราชมารดาท่านผู้หญิงหวัง
พระราชบุตร
  • หมิงเสินจง
  • ลู่เจี่ยนอ๋อง
  • เจ้าฟ้าโซ่วหยาง
  • เจ้าฟ้าหย่งหนิง
  • เจ้าฟ้ารุ่ยอัน
ราชวงศ์หมิง (จักรพรรดิภิเษกสมรส)
ศาสนาพุทธ

สมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงเซี่ยวติ้ง ทรงพระราชสมภพในตระกูลหลี่

พระราชประวัติ

[แก้]

พระเกียรติยศ

[แก้]

พระราชอิสริยยศ

[แก้]
  • ในรัชสมัยของจักรพรรดิเจียจิ้ง (พ.ศ. 2064 – 2110):
    • นางหลี่ (李氏) : พ.ศ. 2088
    • นางพนักงาน (宮人) : พ.ศ. 2093
    • หม่อมห้าม : (妾室) : พ.ศ. 2103
  • ในรัชสมัยของจักรพรรดิหลงชิ่ง (พ.ศ. 2110 – 2115):
    • พระมเหสีหวงกุ้ยเฟย (皇貴妃) : มีนาคม พ.ศ. 2110
  • ในรัชสมัยของจักรพรรดิว่านลี่ (พ.ศ. 2115 – 2163):
    • ฉือเซิ่งฮองไทเฮา (慈聖皇太后) : 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2115
    • ฉือเซิ่งซวนเหวินฮองไทเฮา (慈聖宣文皇太后) : พ.ศ. 2121
    • ฉือเซิ่งซวนเหวินหมิงซู่ฮองไทเฮา
      (慈聖宣文明肅皇太后) : พ.ศ. 2125
    • ฉือเซิ่งซวนเหวินหมิงซู่เจินโซ่วตวนเสี้ยนฮองไทเฮา
      (慈聖宣文明肅貞壽端獻皇太后) : พ.ศ. 2144
    • ฉือเซิ่งซวนเหวินหมิงซู่เจินโซ่วตวนเสี้ยนกงซีฮองไทเฮา
      (慈聖宣文明肅貞壽端獻恭熹皇太后) : พ.ศ. 2149
    • เซี่ยวติ้งเจินฉุนชินเหรินตวนซูปี้เทียนจั้วเซิ่งฮองไทเฮา
      (孝定贞纯钦仁端肃弼天祚圣皇太后) : พ.ศ. 2157

ทดลอง 3

[แก้]

สมเด็จพระเจ้าอู่ซู่ไท่จู่

[แก้]
สมเด็จพระเจ้าอู่ซู่ไท่จู่
พระเจ้าแผ่นดิน
ราชอาณาจักรอู๋เยฺว่
พระมหากษัตริย์แห่งอู๋เยฺว่
ครองราชย์พ.ศ. 2115 - 18 มีนาคม พ.ศ. 2157
(42 ปี 108 วัน)
ก่อนหน้าพระองค์แรก
ถัดไปสมเด็จพระเจ้าเหวินมู่ซื่อจง

พระราชสมภพค.ศ. 852
สวรรคตค.ศ. 932
(80 พรรษา)
พระอัครมเหสี
พระมเหสี
ดูรายพระนาม
    • ท่านผู้หญิงหม่า
    • สมเด็จพระพันปีหลวงจาวอี้
    • พระราชเทวีจวงมู่
    • พระราชเทวีชิงอัน
    • พระราชเทวีจี่หนาน
    • ท่านผู้หญิงหลี่
    • ท่านผู้หญิงเจิ้ง
พระราชบุตรดูพระราชสันตติวงศ์
พระนามทั้งหมด
พระสมัญญานาม
สมเด็จพระเจ้าอู่ซู่ (武肅王)
พระอารามนาม
ไท่จู่ (太祖)
พระราชบิดาสมเด็จพระเจ้าอิงเสี่ยน
พระราชมารดาสมเด็จพระบรมอัยยิกาจ้าวกั๋ว
ราชวงศ์อู๋เยฺว่

สมเด็จพระเจ้าอู่ซู่ไท่จู่ (จีน: 太祖武肅王陛下; พินอิน: Tài zǔ wǔ sù wáng bìxià) เป็นพระเจ้าแผ่นดินรัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์อู๋เยฺว่ มีพระนามเดิมว่า เฉียนหลิว (錢鏐)

พระบรมราชประวัติ

[แก้]

พระชนม์ชีพช่วงต้น

[แก้]

สมเด็จพระเจ้าอู่ซู่ไท่จู่ มีพระนามเดิมว่า เฉียนหลิว (錢鏐) มีพระนามรองว่า จฺวี้เหม่ย (具美) พระนามลำลอง ป๋อหลิว (婆留) เสด็จพระราชสมภพในราชสกุลเฉียน (錢) เมื่อวันที่ 16 เดือน 2 รัชศกต้าจงปีที่ 6 (10 มีนาคม ค.ศ. 852) เมืองหลินอัน เป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอิงเสี่ยน กับสมเด็จพระบรมอัยยิกาจ้าวกั๋ว ในอดีตราชสกุลเฉียนประกอบอาชีพหลักด้านการเกษตรกร และการประมง

สมเด็จพระเจ้าอู่ซู่ไท่จู่ เมื่อทรงพระเยาว์ ทรงศึกษาศิลปะการต่อสู้ ทรงชำนาญการยิงธนู เพลงหอก และตำราโหราศาสตร์ เมื่อทรงเจริญพระชนมพรรษา พระองค์ได้ประกอบอาชีพค้าขายเกลือเถื่อน ขณะที่ค้าขายเกลือเถื่อนอยู่ที่เมืองลู๋เกา (如皋) ไท่โจว (泰州) พระองค์ได้สร้างสะพานให้แก่ชาวบ้านในท้องถิ่นนั้น

การทหาร

[แก้]

เฉียนฝูปีที่ 2 (ค.ศ. 875) สมเด็จพระเจ้าอู่ซู่ไท่จู่ เมื่อเจริญพระชนมพรรษาได้ 24 พรรษา เสด็จเข้ารับราชการทหารในกองทัพของแม่ทัพตงชาง (董昌) เพื่อปราบกบฏหวังอิ่ง (王郢) ในตำแหน่งผู้ช่วยแม่ทัพ

เฉียนฝูปีที่ 5 (ค.ศ. 878) เกิดกบฏหลายกลุ่ม พระองค์จึงนำทัพไปปราบกบฏจนสิ้น ได้รับการแต่งตั้งเป็นแม่ทัพภาค[1]

เฉียนฝูปีที่ 6 (ค.ศ. 879) เกิดกบฏใหญ่นำโดยหวงเฉา (黄巢)

กวงหมิงปีที่ 1 (ค.ศ. 880) แม่ทัพตงชาง จัดตั้งนำทหารจากแปดเมืองตั้งเป็นกองกำลังเรียกว่า"แปดกองทัพ" พระองค์ได้รับการแต่งตั้งเป็นรองแม่ทัพ แม่ทัพตงชางเห็นว่า เกาเผียน (高骈) ไม่คิดจะปราบกบฏ จึงเดินทางกลับหางโจว และเกาเผียนจึงกราบบังคมทูลต่อจักรพรรดิ ให้ตั้งแม่ทัพตงชาง เป็นผู้ตรวจราชการหางโจว และตั้งสมเด็จพระเจ้าอู่ซู่ไท่จู่ เป็นไท่จื่อปินเค่อ (太子宾客)

เทียนฝูปีที่ 2 (ค.ศ. 902) พระองค์ได้รับการสถาปนาฐานันดรศักดิ์เป็นเจ้าชายเยฺว่ (越王)[2]

การสถาปนาราชอาณาจักรอู๋เยฺว่

[แก้]

เทียนโย่วปีที่ 1 (ค.ศ. 904) สมเด็จพระเจ้าอู่ซู่ไท่จู่ มีพระราชประสงค์ให้ราชสำนักถัง สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นพระเจ้าอู๋เยฺว่ (吴越王) แต่ทางราชสำนักได้ปฏิเสธ หลังจากนั้นพระองค์ได้รับความช่วยเหลือจากจูเหวิน (朱温) ทางราชสำนักจึงได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นเจ้าชายอู๋ (吴王)[3]

หลงเต๋อปีที่ 3 (ค.ศ. 923) สมเด็จพระเจ้าอู่ซู่ไท่จู่ได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จพระเจ้าอู๋เยฺว่ (吴越国王) และได้ก่อตั้งราชอาณาจักรอู๋เยฺว่ ทรงจัดตั้งตำแหน่งข้าราชการ อัครมหาเสนาบดี มหาเสนาบดี และตำแหน่งระดับสูงอื่นๆ พร้อมกับบัญญัติขนบธรรมเนียม ตามแบบอย่างราชสำนัก และโดยปกติราชอาณาจักรอู๋เยฺว่ในฐานะรัฐบรรณาการควรใช้ศักราชของราชวงศ์เหลียงยุคหลัง แต่พระองค์กลับทรงบัญญัติศักราชของพระองค์เอง ถือเป็นการแสดงออกถึงอำนาจอธิปไตยในตนเอง

ไม่นานหลังจากนั้นจักรพรรดิถังจวงจง นำทัพปราบราชวงศ์โฮ่วเหลียง ทรงได้สถาปนาราชวงศ์โฮ่วถังขึ้นมา สมเด็จพระเจ้าอู่ซู่ไท่จู่จึงทรงโปรดเกล้าฯ ให้ส่งพระราชสาส์นพร้อมเครื่องราชบรรณาการไปยังราชวงศ์โฮ่วถัง และขอพระราชทานพระบรมราชโองการทำจากแผ่นหยกใช้สำหรับพระเจ้าแผ่นดินเรียกว่า"พระอฺวี่บัฏ" พร้อมพระราชลัญจกร[4]

พระบรมราชอิสริยยศและพระเกียรติยศ

[แก้]
ธรรมเนียมพระยศของ
สมเด็จพระเจ้าอู่ซู่ไท่จู่
การทูล王爷陛下
สมเด็จพระราชา
การแทนตน臣 (บุรุษ) / 臣妾 (สตรี)
ข้าพระพุทธเจ้า
การขานรับ陛下
พระพุทธเจ้าข้าขอรับ/เพคะ

พระบรมราชอิสริยยศ

[แก้]
  • เจ้าชายเยฺว่ (越王)
  • เจ้าชายอู๋ (吴王)
  • พระเจ้าอู๋เยฺว่ (吴越王)
  • สมเด็จพระเจ้าอู๋เยฺว่ (吴越国王)
  • สมเด็จพระเจ้าอู่ซู่ไท่จู่ (太祖武肅王)

พระอัครมเหสี พระมเหสี พระสนม พระราชโอรส และพระราชธิดา

[แก้]

พระอัครมเหสี พระมเหสี พระสนม

[แก้]
  1. ท่านผู้หญิงหม่า 马氏
  2. สมเด็จพระพันปีหลวงจาวอี้ 昭懿太夫人
  3. พระราชเทวีจวงมู่ 庄穆夫人吴氏
  4. พระราชเทวีชิงอัน 庆安夫人胡氏
  5. พระราชเทวีจี่หนาน 济南夫人童氏
  6. ท่านผู้หญิงจิน 金氏
  7. ท่านผู้หญิงถง 童氏
  8. ท่านผู้หญิงหลี่ 李氏
  9. ท่านผู้หญิงเสี่ยวเฉิน 小陈氏
  10. ท่านผู้หญิงเจิ้ง 郑氏

พระราชโอรส และพระราชธิดา

[แก้]
  1. เจ้าชายหยวนเหลียน (元琏)
  2. เจ้าชายหยวนจี (元玑) หรือหนิงกั๋วกง
  3. เจ้าชายฉวนอิง (传瑛) หรืออฺวินกั๋วกง
  4. เจ้าชายหยวนอี้ (元懿) หรือจินฮว่าจวิ้นอ๋อง
  5. เจ้าชายหยวนซุ่ย (元璲) หรือหย่งเจียเซี่ยนโหว
  6. กวางหลิงจวิ้นอ๋อง
  7. สมเด็จพระเจ้าเหวินมู่ซื่อจง

ทดลอง 4

[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดาราอันมีค่ายิ่งมังกรคู่

[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ดาราอันมีค่ายิ่งมังกรคู่ หรือ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชวนหลงเป่าซิง (御赐双龙宝星)

พระบรมราชอิสริยยศ

[แก้]
  • โซ่วหยางเสียนกง (寿阳县公)
  • ไท่หยวนจวิ้นกง (太原郡公) : จวิ้นกงขั้น 2 เอก (正二品)
  • อิ้งกั๋วกง (应国公) : กั๋วกงขั้น 1 รอง (从一品)
  • โจวติ้งกง (周定公) : ค.ศ. 656
  • ไท่หยวนจวิ้นอ่อง (太原郡王) : ค.ศ. 670

ค.ศ. 684 ทรงได้รับการสถาปนาขึ้นเป็น พระเจ้าเว่ยจงเซี่ยว (魏忠孝王) ด้วยทรงเป็นพระราชบิดาในสมเด็จพระพันปีหลวง

ในปี ค.ศ. 689 สถาปนาพระเจ้าเว่ยจงเซี่ยวขึ้นเป็น โจวจงเซี่ยวไท่หวง (周忠孝太皇) พระบรมราชอิสริยยศสำหรับ สมเด็จพระบรมราชชนก ในสมเด็จพระพันปีหลวง

ทอลอง 6 สมเด็จพระจักรพรรดิเกาจู่มหาราช แห่งฮั่นใต้

[แก้]

สมเด็จพระจักรพรรดิเกาจู่มหาราช แห่งฮั่นใต้ หรือ สมเด็จพระจักรพรรดิหนานฮั่นเกาจู่มหาราช จักรพรรดิรัชกาลที่ 1 แห่งราชวงศ์ฮั่นใต้ พระองค์เป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 2 ของจีนที่ได้รับพระราชสมัญญานามว่า จักรพรรดิมหาราช (天皇大帝)

จักรพรรดิมหาราช

[แก้]

สมเด็จพระจักรพรรดิหนานฮั่นเกาจู่มหาราชเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 2 ที่ได้รับพระราชสมัญญานามว่า จักรพรรดิมหาราช (天皇大帝) โดยพระองค์แรกคือสมเด็จพระจักรพรรดิถังเกาจง แต่ภายหลังสมเด็จพระจักรพรรดิถังเกาจงทรงได้รับการเฉลิมพระราชสมัญญานามใหม่ เป็นเหตุให้สมเด็จพระจักรพรรดิหนานฮั่นเกาจู่มหาราช เป็นจักรพรรดิเพียงพระองค์เดียวที่มีพระราชสมัญญานามนี้

  1. 《新五代史·吴越世家》:光启三年,拜镠左卫大将军、杭州刺史,昌越州观察使。是岁,毕师铎囚高骈,淮南大乱,六合镇将徐约攻取苏州。润州牙将刘浩逐其帅周宝,宝奔常州,浩推度支催勘官薛朗为帅。镠遣都将成及、杜棱等攻常州,取周宝以归,镠具军礼郊迎,馆宝于樟亭,宝病卒。棱等进攻润州,逐刘浩,执薛朗。
  2. 天复二年(902年),钱镠进封越王。
  3. 《新五代史·吴越世家》:天祐元年,封镠吴王,镠建功臣堂,立碑纪功,列宾佐将校名氏于碑阴者五百人。
  4. 《新五代史·吴越世家》:唐庄宗入洛,镠遣使贡献,求玉册。庄宗下其议于有司,群臣皆以谓非天子不得用玉册,郭崇韬尤为不可,既而许之,乃赐镠玉册金印。……遣使册新罗、渤海王,海中诸国,皆封拜其君长。