ข้ามไปเนื้อหา

ผู้ใช้:A.Adapt/ทดลองเขียน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ทินนี่ โคลเลอร์
ไฟล์:Pic
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 (29 ปี)
อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม ประเทศไทย
เชื้อชาติไทย
ศาสนาพุทธ
พรรคการเมืองอิสระ
คู่สมรสโสด
บุตรไม่มีบุตร
การศึกษา สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
มหาวิทยาลัยศิลปากร
โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย
โรงเรียนวัดไผ่ล้อม (พูลประชาอุปถัมภ์)
อาชีพนักธุรกิจ
ข้าราชการพลเรือนสามัญ
ทหารกองเกิน
วิชาชีพนักกฎหมาย
นักวิทยาศาสตร์
ทรัพย์สินสุทธิ1 ล้านบาท (พ.ศ. 2566)
รางวัลรางวัลพระจันทร์เพชร
ลายมือชื่อไฟล์:เซ็น...
เว็บไซต์เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
ชื่อเล่นอ...
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ ไทย
สังกัด กองทัพบกไทย
กองทัพไทย
ประจำการพ.ศ. 2560 - 2561
ยศ จ่าสิบตรี
หน่วย หน่วยบัญชาการรักษาดินแดน

ทินนี่ โลลเลอร์ เป็นข้าราชการชาวไทยดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวงมหาดไทย ตั้งแต่ปี 2564 เคยเป็นอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น และอดีตผู้ว่าราชการจังหวัดหลายจังหวัด

ประวัติ

[แก้]

ทินนี่ โลลเลอร์ เกิดเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2538 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาชีววิทยา จากคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เมื่อปี 2559 ปริญญาโทรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (การปกครอง) จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในปี 2533 และปริญญาเอกปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาภาวะผู้นำเชิงยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต และเคยเข้ารับการศึกษาที่มหาวิทยาลัยสยาม แต่ไม่ได้สำเร็จการศึกษา[1]

สุทธิพงษ์ ได้รับปริญญารัฐศาสตร์ศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา และมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย[2]

การศึกษา

[แก้]

และได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่ง ศาสตราจารย์พิเศษ แห่งคณะนิติศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เคยได้รับทุนจาก มูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์ ให้ศึกษาวิจัยเรื่อง "การเผยแพร่ความรู้กฎหมายไปสู่ชนบท" ณ ศูนย์ศึกษาเบลลาจิโอ ประเทศอิตาลี กับ

เคยได้รับทุนจาก องค์การอนุเคราะห์เด็กแห่งนอรเวย์ ให้ศึกษาวิจัยเรื่อง "การทารุณกรรมเด็ก"

รวมทั้งได้รับทุนฝึกอบรมด้านบำบัดผู้ติดยาเสพติด ณ. นครนิวยอร์ก จากองค์การเดท็อปแห่งสหรัฐอเมริกา

และผ่านการศึกษาหลักสูตร Cambridge-Thammasat Executive Education Programme ณ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ วิชาจบการศึกษาปริญญาตรี และปริญญาโทจากคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนติบัณฑิตไทยสำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ปริญญาโทรัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปริญญาบัตรการป้องกันราชอาณาจักรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร รุ่นที่ 41 ประกาศนียบัตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ 11 (สถาบันพระปกเกล้า) ประกาศนียบัตรวิทยาลัยตลาดทุน (วตท.รุ่นที่10) หลักสูตรนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย รุ่นที่3 นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รัฐประศาสนศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) และได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์พิเศษแห่งคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เคยได้รับทุนจาก มูลนิธิร็อกกีเฟลเลอร์ ให้ศึกษาวิจัยเรื่อง "การเผยแพร่ความรู้กฎหมายไปสู่ชนบท" ณ ศูนย์ศึกษาเบลลาจิโอ ประเทศอิตาลี กับได้รับทุน9จากองค์การอนุเคราะห์เด็กแห่งนอรเวย์ให้ศึกษาวิจัยเรื่อง "การทารุณกรรมเด็ก" รวมทั้งได้รับทุนฝึกอบรมด้านบำบัดผู้ติดยาเสพติด ณ นครนิวยอร์ก จากองค์การเดท็อปแห่งสหรัฐอเมริกา และผ่านการศึกษาหลักสูตร Cambridge-Thammasat Executive Education Programme ณ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ

พลตำรวจโท วิเชียรโชติ จบการศึกษาจากโรงเรียนเตรียมทหาร (รุ่นที่ 8) จบปริญญาตรีรัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต (โรงเรียนนายร้อยตำรวจ รุ่นที่ 24) โดยระหว่างที่เรียนโรงเรียนนายร้อยตำรวจได้รับเลือกเป็นหัวหน้านักเรียนและสอบได้ที่ 1 ประจำรุ่น จึงได้ทุนรัฐบาลไทยไปศึกษาต่อระดับปริญญาโทสาขาการบริหารงานยุติธรรม จาก มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเคนทักกี สหรัฐอเมริกา และปริญญาเอกสาขาอาชญาวิทยา จาก Florida State University สหรัฐอเมริกา ซึ่งพลตำรวจโท ดร.วิเชียรโชติ เป็นคนไทยคนแรกที่จบปริญญาเอกในสาขาวิชานี้

นอกจากนี้ยังสำเร็จการศึกษาในประกาศนียบัตรและได้รับรางวัลต่างๆ อาทิ

  • ประกาศนียบัตรหลักสูตร FBI จากสหรัฐอเมริกา
  • ประกาศนียบัตรนักบริหารชั้นสูงระหว่างประเทศ  จากประเทศออสเตรเลีย โดยทุนรัฐบาลออสเตรเลีย
  • ปริญญาบัตรวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร (วปรอ.388)
  • ประกาศนียบัตรผู้บริหารระดับสูงด้านวิทยาการพลังงาน (วพน. รุ่นที่ 1) สถาบันวิทยาการ พลังงาน
  • ประกาศนียบัตรหลักสูตร DAP และ DCP จาก IOD (สถาบันกรรมการบริษัทไทย)
  • ศิษย์เก่าดีเด่นโรงเรียนบพิตรพิมุข
  • นักเรียนทุนรัฐบาลไทยดีเด่น (ประจำปี 2547)
  • ศิษย์เก่าดีเด่นผู้สร้างชื่อเสียงและทำคุณประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ในโอกาสมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ครบรอบ 70 ปี)
  • ศิษย์เก่าผู้ทำคุณประโยชน์โรงเรียนนายร้อยตำรวจ (ระหว่างปี 2545-2547)
  • ได้รับการจารึกชื่อในแผ่นทองของ Hall of Fame โรงเรียนนายร้อยตำรวจ ว่าเป็นนักเรียนนายร้อยตำรวจที่มีผลการเรียนดีเยี่ยมและมีความประพฤติดีเยี่ยม

ศึกษาเพิ่มเติม

[แก้]

การทำงาน

[แก้]
  • พ.ศ. 2496: เจ้าหน้าที่สอนเครื่องลงบัญชีไฟฟ้า National Cash Registered Co.,Ltd. (พ.ศ. 2496–2497)
  • พ.ศ. 2497: เสมียนแผนกรถยนต์ และภายหลังดำรงตำแหน่งผู้ช่วยหัวหน้าแผนกเครื่องอะไหล่ Barrow Brown Co.,Ltd. (พ.ศ. 2497–2502)
  • พ.ศ. 2502: ผู้ช่วยหัวหน้าแผนกเครื่องอะไหล่ Loxley Bangkok Co.,Ltd. (พ.ศ. 2502–2504)
  • พ.ศ. 2504: Free Lance Guide, World Travel Service Co.,Ltd. (พ.ศ. 2504–2506)
  • พ.ศ. 2507: ผู้จัดการแผนกเครื่องอะไหล่ บริษัทเอื้อวิทยาพาณิชย์ จำกัด (พ.ศ. 2507–2509)
  • พ.ศ. 2510: Dietary Aid, Fox Rever Rehabilitation Hospital, Chicago U.S.A. (พ.ศ. 2510–2511)
  • พ.ศ. 2512: ผู้จัดการแผนกเครื่องอะไหล่ บริษัท เอื้อวิทยาพาณิชย์ จำกัด (พ.ศ. 2512–2513)
  • พ.ศ. 2513: ผู้บริหารฝ่ายขาย John Deere Thailand Co.,Ltd. (พ.ศ. 2513–2514)
  • พ.ศ. 2514: เจ้าหน้าที่ฝ่ายประชาสัมพันธ์ สถานเอกอัครราชทูตอิสราเอล ประจำประเทศไทย (พ.ศ. 2514–2516)
  • พ.ศ. 2516: ลาออกจากงานประจำและทำงานการเมืองอย่างเดียวเรื่อยมา เนื่องจากภรรยามีรายได้มั่นคงพอที่จะดูแลครอบครัวแล้ว

การทำงาน

[แก้]

สุทธิพงษ์ เข้ารับราชการเป็นปลัดอำเภอเมื่อปี พ.ศ. 2531 ที่อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง ได้เข้าอบรมหลักสูตรนายอำเภอ รุ่นที่ 48 ในปี พ.ศ. 2543 และเป็นปลัดอาวุโส (ระดับ 8) อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ในปี 2548 ต่อมาได้โอนย้ายมารับราชการในสังกัดสำนักงานรัฐมนตรี ในตำแหน่งหัวหน้าสำนักงานรัฐมนตรี (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับ 9) ในปี 2549

สุทธิพงษ์ ได้รับแต่งตั้งเป็นรองผู้ว่าราชการจังหวัดในปี 2551 ที่จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นรองผู้ว่าราชการจังหวัดนครนายกในปีถัดมา และได้รับแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด ในปี 2553 ที่จังหวัดนครนายก จากนั้นถูกย้ายมาเป็นผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย ในปี 2555 และกลับมาดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดสระบุรี ในปี 2556 ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยนาท ในปี 2557 เป็นรองปลัดกระทรวงมหาดไทยในปีถัดมา

สุทธิพงษ์ ได้รับแต่งตั้งเป็นอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ในปี 2560 และเป็นอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน ในปี 2562 จนกระทั่งได้รับแต่งตั้งเป็นปลัดกระทรวงมหาดไทย ในปี 2564

วันที่ 10 ม.ค. 2566 เมื่อเวลา 13.00 น. ที่ทำเนียบรัฐบาล นายวิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี ให้สัมภาษณ์กรณีหลายฝ่ายเรียกร้องให้ตรวจสอบจริยธรรม นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ที่ใช้ถ้อยคำไม่เหมาะสมกับผู้ใต้บังคับบัญชาว่า ตนได้แจ้งเรื่องของปลัดกระทรวงมหาดไทยให้ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีทราบในวันเดียวกันนี้แล้วว่า ทางกระทรวงมหาดไทยได้ดำเนินการตามประมวลจริยธรรม ที่ได้กำหนดว่า หากเกิดกรณีลักษณะดังกล่าวต้องให้ คณะกรรมการจริยธรรมของกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้ดำเนินการ ซึ่งคณะกรรมการดังกล่าว มีนายวิบูลย์ สงวนพงศ์ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นประธาน กำลังดำเนินการตรวจสอบ หากผลสรุปออกมาว่าเข้าขั้นเป็นความผิดทางวินัย ก็ให้นำเรื่องเข้าสู่คณะกรรมการสอบสวนทางวินัย แค่ถ้าเข้าขั้นเป็นความผิดทางอาญา เช่น หมิ่นประมาท ก็ให้ส่งเรื่องเข้าสู่กระบวนการทางอาญาต่อไป

วันที่ 22 พ.ค. 2566 ศาลอาญาคดีทุจริตเเละประพฤติมิชอบกลาง นัดฟังคำสั่งหรือคำพิพากษาในชั้นตรวจฟ้อง คดีที่ นายสงกาญ์ อัจฉริยะทรัพย์ กรรมการปฏิรูปประเทศด้านกระบวนการยุติธรรม และ ฐานะศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยสยาม เป็นโจทก์ฟ้อง นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย ในความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 157 และความผิดตาม พ.ร.บ.คอมฯ มาตรา 14(1) กรณีที่ปลัดสุทธิพงษ์ กล่าวด้อยค่าผู้ใต้บังคับบัญชาของตนเองและผู้อื่น ในการประชุมวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ที่กระทรวงมหาดไทย เมื่อปลายปี 2565

ภายหลังฟังคำพิพากษา นายสงกาญ์ ในฐานะศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยสยาม เปิดเผยว่า ศาลอาญามีคำสั่งยกฟ้องในคดีที่ได้เป็นโจทก์ฟ้อง นายสุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย กรณีที่กล่าวด้อยค่าผู้ใต้บังคับบัญชาของตนเองและผู้อื่น โดยศาลพิจารณาแล้วเห็นว่า ผู้เสียหายคนแรกคือ ข้าราชการที่ถูกนายสุทธิพงษ์ กล่าวถึง และมหาวิทยาลัยสยาม ในส่วนตนที่เป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยสยาม ไม่ใช่ผู้เสียหายโดยตรง ศาลจึงยกฟ้องหรือไม่รับฟ้องคดีไว้พิจารณา

นายสงกาญ์ ยืนยันจะขออุทธรณ์ต่อศาลสูงต่อไป เนื่องจากมองว่าศิษย์เก่าที่จบการศึกษาจากมหาวิทยาลัยล้วนได้รับผลกระทบจากการกระทำดังกล่าวโดยตรง เช่น ทำให้ไม่ได้รับความเชื่อถือเมื่อสมัครงาน เนื่องจากผู้พูดได้กล่าวในฐานะที่เป็นข้าราชการระดับสูงทำให้หลายคนเชื่อถือคล้อยตาม สำหรับข้าราชการที่ถูกด้อยค่า ซึ่งเป็นผู้เสียหายโดยตรงนั้น เชื่อว่าจะไม่ดำเนินการฟ้องร้อง เนื่องจากเป็นข้าราชการในระบบ และผู้บังคับบัญชาสามารถให้คุณหรือโทษได้

เกียรติคุณ

[แก้]

ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน จากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

[แก้]

... ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ของประเทศไทยและเครื่องราชอิสริยาภรณ์ของต่างประเทศต่างๆ ดังนี้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย

[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ

[แก้]
  • ...

เหรียญที่พระราชทานเป็นที่ระลึก

[แก้]
แพรแถบย่อ รายชื่อ อักษรย่อ
เหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลสมัยพระราชพิธีกาญจนาภิเษก
เหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๔๒
เหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๖ รอบ ๑๒ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗
เหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในพระราชพิธีฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี
เหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๔
เหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ สยามมกุฏราชกุมาร เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ ๒๘ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๕๕
เหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสพระราชพิธีฉลองพระชนมายุ ๕ รอบ ๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๘
เหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๑๒ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๕๙
เหรียญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๑๐
เหรียญที่ระลึกพระราชพิธีสถาปนา สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี ๔ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๖๒
เหรียญที่ระลึกเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๙๐ พรรษา ๑๒ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๖๕

เครื่องหมายความสามารถพิเศษ

[แก้]

- หลักสูตรนักทำลายใต้น้ำจู่โจม (...) จากหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ กองทัพเรือไทย

เหรียญที่พระราชทานเป็นที่ระลึก

[แก้]

...

อ้างอิง

[แก้]

Link

  1. เปิด 4 ข้อ ปลัด มท. "สุทธิพงษ์ จุลเจริญ" แจงยิบต่อที่ประชุม อธิการบดีฯ
  2. เปิดประวัติ "สุทธิพงษ์ จุลเจริญ ปลัดกระทรวงมหาดไทย" ดีกรีไม่ธรรมดา
  3. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ และเหรียญลูกเสือสดุดี ประจำปี ๒๕๕๓, เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๐ ข หน้า ๑๗, ๕ มิถุนายน ๒๕๕๕
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ และเหรียญลูกเสือสดุดี ประจำปี ๒๕๕๓, เล่ม ๑๒๙ ตอนที่ ๒๐ ข หน้า ๑๗, ๕ มิถุนายน ๒๕๕๕
  5. ทร. ถวายเครื่องหมายนักทำลายใต้น้ำจู่โจม แด่ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ
  6. กองทัพเรือ ทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องหมายนักทำลายใต้น้ำจู่โจม แด่ เจ้าฟ้าสิริวัณณวรี

แหล่งข้อมูล[แก้]

[แก้]
  • เว็บไซต์ส่วนตัว