ข้ามไปเนื้อหา

ปลาอาจิ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ปลาอาจิ
Trachurus japonicus ใกล้ชายฝั่งคาบสมุทรอิซุ
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ แก้ไขการจำแนกนี้
โดเมน: ยูแคริโอตา
Eukaryota
อาณาจักร: สัตว์
Animalia
ไฟลัม: สัตว์มีแกนสันหลัง
Chordata
ชั้น: ปลาที่มีก้านครีบ
Actinopterygii
อันดับ: Carangiformes
วงศ์: วงศ์ปลาหางแข็ง
วงศ์ย่อย: Caranginae

Rafinesque, 1815[1]

ปลาอาจิ (アジ, 鰺[2]) เป็นคำทั่วไปสำหรับเรียกปลาที่อยู่ในวงศ์ย่อย Caranginae ซึ่งเป็นวงศ์ย่อยของวงศ์ปลาหางแข็ง ในประเทศญี่ปุ่น โดยทั่วไปถ้าพูดว่า "อาจิ" มักหมายถึงสายพันธุ์ Trachurus japonicus แต่ก็ยังมีปลาอาจิอีกหลายสายพันธุ์ ปลาอาจิถูกจับเป็นอาหารในเขตร้อนและเขตอบอุ่นทั่วโลก

ปลาอาจิ
คุณค่าทางโภชนาการต่อ 100 กรัม (3.5 ออนซ์)
พลังงาน661 กิโลจูล (158 กิโลแคลอรี)
0 g
น้ำตาล0 g
ใยอาหาร0 g
7.89 g
อิ่มตัว2.247 g
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่เดี่ยว2.629 g
ไม่อิ่มตัวมีพันธะคู่หลายคู่1.94 g
1.564 g
20.07 g
ทริปโตเฟน0.225 g
ทรีโอนีน0.88 g
ไอโซลิวซีน0.925 g
ลิวซีน1.631 g
ไลซีน1.843 g
เมไธโอนีน0.594 g
ซิสตีน0.215 g
ฟีนิลอะลานีน0.783 g
ไทโรซีน0.678 g
วาลีน1.034 g
อาร์จินีน1.201 g
ฮิสทิดีน0.591 g
อะลานีน1.214 g
กรดแอสปาร์ติก2.055 g
กลูตาเมต2.996 g
ไกลซีน0.963 g
โพรลีน0.71 g
ซีรีน0.819 g
วิตามิน
วิตามินเอ
(2%)
19 μg
(0%)
0 μg
0 μg
ไทอามีน (บี1)
(10%)
0.111 มก.
ไรโบเฟลวิน (บี2)
(35%)
0.421 มก.
ไนอาซิน (บี3)
(55%)
8.32 มก.
(6%)
0.316 มก.
วิตามินบี6
(25%)
0.33 มก.
โฟเลต (บี9)
(1%)
2 μg
วิตามินบี12
(183%)
4.4 μg
คลอรีน
(14%)
66.9 มก.
วิตามินซี
(2%)
2 มก.
วิตามินดี
(61%)
366 IU
วิตามินอี
(7%)
1 มก.
วิตามินเค
(0%)
0.1 μg
แร่ธาตุ
แคลเซียม
(2%)
23 มก.
เหล็ก
(9%)
1.16 มก.
แมกนีเซียม
(8%)
28 มก.
แมงกานีส
(1%)
0.015 มก.
ฟอสฟอรัส
(18%)
125 มก.
โพแทสเซียม
(9%)
406 มก.
โซเดียม
(6%)
86 มก.
สังกะสี
(7%)
0.67 มก.
องค์ประกอบอื่น
น้ำ70.15 g
คอเลสเตอรอล47 mg
ประมาณร้อยละคร่าว ๆ โดยใช้การแนะนำของสหรัฐสำหรับผู้ใหญ่
แหล่งที่มา: USDA FoodData Central

รากศัพท์

[แก้]

เชื่อว่าที่มาของชื่อ "อาจิ" ในภาษาญี่ปุ่นนี้มาจากคำว่า "อาจิ" (味) ที่หมายถึง "รสชาติ" เนื่องจากรสชาติที่ดีของมัน[3] ส่วนคันจิใช้อักษร 鰺 ในการเขียน ซึ่งที่มาของการใช้อักษรนี้มีหลายทฤษฎีบ้างก็ว่าเดิมใช้อักษร 鱢 แล้วเขียนผิดเลยกลายเป็น 鰺[3]

การจัดหมวดหมู่

[แก้]

แบ่งเป็น 3 กลุ่ม โดยสกุล Carangoides ดั้งเดิมถูกแยกออกและจัดระเบียบใหม่เป็นหลายสกุลโดยเป็นกลุ่มที่มีหลายสาย รวมทั้งสกุล Atropus[4][5][6]

  • กลุ่มปลาทูแขก
    • Kaiwarinus (Temminck & Schlegel, 1844) - 1 สายพันธุ์
    • Pseudocaranx (Bleeker, 1863) - 4 สายพันธุ์
    • Selar (Bleeker, 1851) - 2 สายพันธุ์
    • Decapterus (Bleeker, 1851) - 10 สายพันธุ์
    • Trachurus (Rafinesque, 1810) - 14 สายพันธุ์
  • กลุ่มปลาจะละเม็ดดำ
    • Parastromateus (Bleeker, 1865) - 1 สายพันธุ์
    • Ferdauia (Jordan, Evermann and Wakiya in Jordan, Evermann and Tanaka, 1927) - 2 สายพันธุ์
    • Uraspis (Bleeker, 1855) - 3 สายพันธุ์
    • Carangichthys (Bleeker, 1853) - 2 สายพันธุ์
    • Alectis (Rafinesque, 1815) - 2 สายพันธุ์
    • Scyris (Cuvier, 1829) - 1 สายพันธุ์
    • Selene (Lacépède, 1802) - 8 สายพันธุ์
    • Euprepocaranx (Kimura, Takeuchi & Yadome, 2022) - 1 สายพันธุ์
    • Flavocaranx (Kimura, Takeuchi และ Yadome, 2022) - 1 สายพันธุ์
    • Platycaranx (Kimura, Takeuchi และ Yadome, 2022) - 2 สายพันธุ์
    • Turrum (Whitley, 1932) - 3 สายพันธุ์
    • Craterognathus (Kimura, Takeuchi and Yadome, 2022) - 1 สายพันธุ์
    • Atropus (Oken, 1817) - 5 สายพันธุ์
  • กลุ่มปลาสีขน
    • Carangoides (Bleeker, 1851) - 2 สายพันธุ์
    • Alepes (Swainson, 1839) - 5 สายพันธุ์
    • Atule (Jordan and Jordan, 1922) - 1 สายพันธุ์
    • Gnathanodon (Bleeker, 1851) - 1 สายพันธุ์
    • Pantolabus (Whitley, 1931) - 1 สายพันธุ์
    • Selaroides (Bleeker, 1851) - 1 สายพันธุ์
    • Chloroscombrus (Girard, 1858) - 2 สายพันธุ์
    • Hemicaranx (Bleeker, 1862) - 4 สายพันธุ์
    • Megalaspis (Bleeker, 1851) - 1 สายพันธุ์
    • Caranx (Lacépède, 1801) - 18 สายพันธุ์

อ้างอิง

[แก้]
  1. Richard van der Laan; William N. Eschmeyer & Ronald Fricke (2014). "Family-group names of Recent fishes". Zootaxa. 3882 (2): 001–230. doi:10.11646/zootaxa.3882.1.1. PMID 25543675.
  2. 鰺は印刷標準字体
  3. 3.0 3.1 フリーランス雑学ライダーズ, บ.ก. (1988), あて字のおもしろ雑学 : 意外な驚き・知的な楽しさ, 永岡書店, p. 45, ISBN 4522011601フリーランス雑学ライダーズ, บ.ก. (1988), あて字のおもしろ雑学 : 意外な驚き・知的な楽しさ, 永岡書店, p. 45, ISBN 4522011601
  4. Kimura, Seishi, Shun Takeuchi, and Taishi Yadome (2022). "Generic revision of the species formerly belonging to the genus Carangoides and its related genera (Carangiformes: Carangidae)". Ichthyological Research. 69 (4): 433–487. doi:10.1007/s10228-021-00850-1.{{cite journal}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  5. 木村清志・武内俊・宿女太志「アジ科数属の標準和名の提唱」『魚類学雑誌』第69巻、日本魚類学会、2022年、116–119頁。
  6. 本村浩之「日本産魚類全種目録.これまでに記録された日本産魚類全種の現在の標準和名と学名」、Online ver. 19、鹿児島大学総合研究博物館、2023年3月3日。2023年3月5日閲覧。