ข้ามไปเนื้อหา

ประเทศนอร์เวย์ในโอลิมปิก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ประเทศนอร์เวย์ เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งแรกในปี ค.ศ. 1900 และได้ส่งนักกีฬาไปแข่งขันทุกครั้งนับแต่นั้นมา ยกเว้นโอลิมปิกฤดูร้อน 1980 ที่มอสโก ซึ่งพวกเขาเข้าร่วมในการคว่ำบาตรที่นำโดยชาวอเมริกัน เช่นเดียวกับก่อนหน้านี้ การแข่งขันในปี ค.ศ. 1904 ที่เซนต์หลุยส์ สหรัฐ อย่างไรก็ตาม ในตอนต้นของศตวรรษที่ 21 ได้มีการค้นพบว่านักมวยปล้ำ ชาร์ลส์ อีริคเซ่น และ เบิร์นฮอฟฟ์ แฮนเซ่น เป็นชาวนอร์เวย์ที่พำนักอยู่ในอเมริกาซึ่งเหรียญโอลิมปิกฤดูร้อน 1904 เคยเป็นของสหรัฐ ยังคงมีสัญชาตินอร์เวย์อยู่ในช่วงเวลาดังกล่าว พวกเขาได้รับรางวัลเหรียญทองจากการแข่งขันมวยปล้ำรุ่นเวลเตอร์เวทและเฮฟวี่เวทตามลำดับ

สรุปเหรียญรางวัล

[แก้]

โอลิมปิกฤดูร้อน

[แก้]
ปีการแข่งขัน นักกีฬา ทอง เงิน ทองแดง รวม อันดับ
กรีซ เอเธนส์ 1896 ไม่ได้เข้าร่วม
ฝรั่งเศส ปารีส 1900 7 0 2 3 5 16
สหรัฐอเมริกา เซนต์หลุยส์ 1904 2 2 0 0 2 7
สหราชอาณาจักร ลอนดอน 1908 69 2 3 3 8 8
สวีเดน สต็อกโฮล์ม 1912 190 4 1 5 10 8
เบลเยียม แอนต์เวิร์ป 1920 194 13 9 9 31 6
ฝรั่งเศส ปารีส 1924 62 5 2 3 10 7
เนเธอร์แลนด์ อัมสเตอร์ดัม 1928 52 1 2 1 4 19
สหรัฐอเมริกา ลอสแอนเจลิส 1932 5 0 0 0 0
เยอรมนี เบอร์ลิน 1936 70 1 3 2 6 18
สหราชอาณาจักร ลอนดอน 1948 81 1 3 3 7 19
ฟินแลนด์ เฮลซิงกิ 1952 102 3 2 0 5 10
ออสเตรเลีย เมลเบิร์น 1956 22 1 0 2 3 22
อิตาลี โรม 1960 40 1 0 0 1 21
ญี่ปุ่น โตเกียว 1964 26 0 0 0 0
เม็กซิโก เม็กซิโกซิตี 1968 46 1 1 0 2 25
เยอรมนีตะวันตก มิวนิก 1972 112 2 1 1 4 21
แคนาดา มอนทรีอัล 1976 66 1 1 0 2 21
สหภาพโซเวียต มอสโก 1980 ไม่ได้เข้าร่วม
สหรัฐอเมริกา ลอสแอนเจลิส 1984 103 0 1 2 3 28
เกาหลีใต้ โซล 1988 70 2 3 0 5 21
สเปน บาร์เซโลนา 1992 83 2 4 1 7 22
สหรัฐอเมริกา แอตแลนตา 1996 98 2 2 3 7 30
ออสเตรเลีย ซิดนีย์ 2000 93 4 3 3 10 19
กรีซ เอเธนส์ 2004 52 5 0 1 6 17
จีน ปักกิ่ง 2008 85 3 5 1 9 22
สหราชอาณาจักร ลอนดอน 2012 66 2 1 1 4 35
บราซิล รีโอเดจาเนโร 2016 62 0 0 4 4 74
ญี่ปุ่น โตเกียว 2020 85 4 2 2 8 20
ฝรั่งเศส ปารีส 2024 อนาคต
สหรัฐอเมริกา ลอสแอนเจลิส 2028
ออสเตรเลีย บริสเบน 2032
รวม 62 51 50 163 21

อ้างอิง

[แก้]

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]