ปฏิบัติการแอ็บเซนชัน
ปฏิบัติการแอ็บเซนชั่น | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ ยุทธบริเวณทะเลอีเจียนในสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
เรือรบคริสตีของอิตาลีในปฏิบัติการแอ็บเซนชั่น | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
ราชอาณาจักรอิตาลี |
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
เอสมิเริล รูจิ เบียนชีรี่ กัปตันฟรานเซสโก มิลเบลลี่ |
แอนดรู คอนทิงแฮม กัปตันเฮช จี อีเจอร์ตัน | ||||||
กำลัง | |||||||
เรือรบ 500 ลำ |
เรือรบ 146 ลำ | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
เรือจม 22 ลำ |
เรือจม 30 ลำ เสียชีวิต 5 นาย บาดเจ็บ 10 นาย ถูกจับ 20 นาย สูญหาย 7 นาย [2] |
ปฏิบัติการแอ็บเซนชั่น (อังกฤษ: Operation abstention) เป็นชื่อรหัสใช้เรียกการรุกรานเกาะคาสเตโลริโซ นอกชายฝั่งตุรกี ของสหราชอาณาจักร ระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง เมื่อราวปลายเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1941 กองทัพอิตาลีประสบความสำเร็จในการขับไล่กองทัพของสหราชอาณาจักรและออสเตรเลียที่พยายามเข้ายึดครองเกาะคาสเตโลริโซ ฝ่ายอิตาลีได้พยายามขัดขวางการยึดครองของสัมพันธมิตรโดยคาดการณ์ไว้ว่าเมื่อสามารถยึดเกาะคาสเตโลริโซได้ก็จะสามารถตัดการลำเลียงยุทธปัจจัยและสินค้าสำคัญที่เชื่อมต่อระหว่างอียิปต์และกรีซได้อีกด้วย
การยกพลขึ้นบกของฝ่ายสัมพันธมิตรและการสร้างแนวป้องกัน
[แก้]แกนนำประกอบด้วยหน่วยปฏิบัติการพิเศษสหราชอาณาจักรกว่า 200 คนที่ถูกขนส่งเพื่อสร้างค่ายป้องกันขึ้นบนเกาะคาสเตโลริโซ และ กองทัพเรืออังกฤษอีก 24 หน่วย วันที่ 24 กุมภาพันธ์ แผนแรกคือการสร้างแนวรบขึ้นบน หัวหาดสามารถส้างแนวให้ทันในเวลาเพียง 3 วันก่อนการมาถึงของกองทัพอิตาลี และได้สร้างเครื่องส่งสัญญาณเพื่อรวบรวมกองทหารอังกฤษที่ประจำการอยู่ที่ไซปรัสเพื่อจะได้เรียกมาสมทบเมื่อกองกำลังขาดแคลนทหาร และนาวิกโยธินรอยัลเริ่มต้นส้างท่าเรือเชื่อมโยงไปถึงเนินเขาของเกาะหลังจากเรือดำน้ำปาร์เทียนทำสำรวจก่อนหน้านี้ของชายฝั่ง อิตาลีจึงส่งเรือสอดแนมที่มีชื่อว่าลูโม่ ที่พลางเป็นเรือสินค้าเข้าไปในบริเวณเกาะคาสเตโลริโซเพื่อสำรวจที่ตั้งที่ชัดเจนแต่ก็ได้แต่ข้อมูลที่ตั้งของท่าเรือเท่านั้น ก่อนที่จะถูกปืนใหญ่จากกองเรือรบอังกฤษยิงทิ้ง
การโจมตีของอิตาลี
[แก้]ฝ่ายอิตาลีได้ตัดสินใจเด็ดขาดและส่งกองทัพอากาศบินเข้าไปในเกาะคาสเตโลริโซ เป้าหมายคือทิ้งระเบิดบริเวณท่าเรือและปราสาทที่ตั้งอยู่บนภูเขาของเกาะ โดยเชื่อว่าหน่วยปฏิบัติการพิเศษฝ่ายสัมพันธมิตรอาจใช้เป็นที่มั่น กองทัพเรืออิตาลีเริ่มการโจมตีโดยพยายามใช้คลื่นรบกวนการสื่อสารของกองเรือฝ่ายสัมพันธมิตร และทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรค้นหากองเรืออิตาลีไม่เจอ ฝ่ายอิตาลีจึงโจมตีเรือสัมพันธมิตรเสียหายอย่างหนัก กองทัพอิตาลีเริ่มยกพลขึ้นบกทำให้กินเนื้อที่เพิ่มขึ้นการรบเชื่อมโยงไปถึงประมาณ 240 กิโลเมตร ทหารสัมพันธมิตรทางตอนเหนือของท่าเรือถูกระเบิดทำให้กระจัดกระจาย ในขณะที่กองกำลังหน่วยปฏิบัติการพิเศษบริเวณท่าเรือและผู้ว่าราชการของเกาะคาสเตโลริโซ และถูกระเบิดเสียชีวิตได้รับบาดเจ็บอีกมากมาย ฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มส่งสัญญาณเตือนภัยที่ทำแบบล่าช้า ฝ่ายอิตาลีได้ขึ้นฝั่งเสียก่อนที่สัมพันธมิตรจะใช้สัญญาณเตือนให้รับรู้ ฝ่ายสัมพันธมิตรถูกโจมตีต้องถอยร่นประมาณ 40 กิโลเมตรลงมาที่ชายฝั่ง จนแอนดรู คอนทิงแฮมส่งสัญญาณขอกองกำลังเสริมเพื่อยับยั้งการยกพลขึ้นบกของอิตาลี แต่กองเรือลำเลียงไม่สามารถหาตำแหน่งที่ชัดเจนพอจึงส่งกำลังเสริมมาไม่ได้
หลังจากนั้น
[แก้]การดำเนินงานได้รับการอธิบายโดยพลเรือเอกคอนทิงแฮมเป็น"การวางแนวป้องกันที่สร้างความเสื่อมเสียและสะท้อนให้เห็นช่องโหว่เพียงอย่างมากให้แก่ศัตรู" คณะกรรมการส่งเสริมการสอบถามพบว่าการพิจารณาผิดบัญชาการ ล่อแทนการติดต่อด้วยพลังศัตรูโดยไม่ชักช้าเป็นกุญแจสำคัญในการ ความล้มเหลวของการเชื่อมโยงไปถึงหลักและการแยก บัญชาการอังกฤษหลายคนประหลาดใจโดยการเกิดปฏิกิริยาที่แข็งแกร่งของชาวอิตาเลียน ทหารอิตาลียังคงอยู่ในการโจมตีและสามารถยึดครองหมู่เกาะดาลโดแนลจนผนวกเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเมื่อปี ค.ศ.1943
- ↑ Smith & Walker 1974, p. 22.
- ↑ Castelrosso 2015.