ข้ามไปเนื้อหา

บาทบริจาริกา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

บาทบริจาริกา หมายถึง ภรรยาที่เป็นสามัญชนของพระมหากษัตริย์ พระมหาอุปราช และเจ้าฟ้า[1]

ประเทศไทย

[แก้]

ราชสำนักไทยในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์นอกจากมีพระภรรยาเจ้าแล้ว ยังมีบาทบริจาริกาซึ่งแบ่งได้เป็น 4 ชั้นย่อย[2] ได้แก่

  1. พระสนม คือเจ้าจอมมารดาหรือเจ้าจอมอยู่งานที่ได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำลงยาราชาวดีเป็นเครื่องยศ[3] มี 2 ชั้น คือ
    1. พระสนมเอก ได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี พานทอง และเครื่องทองคำอย่างใหญ่ เป็นเครื่องยศ[3]
    2. พระสนมโท ได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำลงยาราชาวดี พานทอง และเครื่องทองคำอย่างน้อย เป็นเครื่องยศ[3]
  2. เจ้าจอมอยู่งาน คือนางอยู่งานที่ได้รับพระราชทานหีบหมากทองคำเป็นเครื่องยศ ถ้ามีพระราชโอรสพระราชธิดาเรียกว่าเจ้าจอมมารดา[4]
  3. นักสนม คือบาทบริจาริกาซึ่งไม่ใช่เจ้าจอมหรือเจ้าจอมมารดา[5] ได้ถวายการรับใช้ในพระราชมนเทียร จึงเรียกอีกอย่างว่านางอยู่งาน ได้รับพระราชทานหีบหมากเงินกะไหล่ทองเป็นเครื่องยศ

ประเทศฝรั่งเศส

[แก้]

สหราชอาณาจักร

[แก้]

บาทบริจาริกาที่สำคัญในประวัติศาสตร์อังกฤษ เช่น

อ้างอิง

[แก้]
เชิงอรรถ
  1. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, หน้า 668
  2. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5, หน้า 3
  3. 3.0 3.1 3.2 พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, หน้า 812
  4. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, หน้า 335
  5. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554, หน้า 613
บรรณานุกรม
  • จิรวัฒน์ อุตตมะกุล. พระภรรยาเจ้า และสมเด็จเจ้าฟ้า ในรัชกาลที่ 5. กรุงเทพฯ : มติชน, 2548. 398 หน้า. ISBN 974-322-964-1 ข้อผิดพลาดพารามิเตอร์ใน {{ISBN}}: checksum
  • ราชบัณฑิตยสถานพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2556. 1,544 หน้า. ISBN 978-616-7073-80-4