นครศูนย์กลางของประเทศญี่ปุ่น
![](http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/7/75/Map_of_Japanese_Designated_cities%2C_Core_cities_and_Special_cities.svg/384px-Map_of_Japanese_Designated_cities%2C_Core_cities_and_Special_cities.svg.png)
― นครใหญ่ที่รัฐกำหนด
― นครศูนย์กลาง
― นครพิเศษ
เขตการปกครองของ ประเทศญี่ปุ่น |
---|
ระดับจังหวัด |
จังหวัด 都道府県 โทโดฟูเก็ง |
ระดับกิ่งจังหวัด |
|
ระดับเทศบาล |
|
ระดับต่ำกว่าเทศบาล |
|
นครศูนย์กลาง (ญี่ปุ่น: 中核市; โรมาจิ: Chūkakushi; ทับศัพท์: ชูกากูชิ) เป็นนครประเภทหนึ่งของประเทศญี่ปุ่น เป็นเขตการปกครองที่ก่อตั้งขึ้นโดยรัฐบาลกลาง[1] นครศูนย์กลางได้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่หลายอย่างที่ตามปกติแล้วจะดำเนินการโดยจังหวัด แต่นครศูนย์กลางมีอำนาจหน้าที่ไม่มากเท่านครใหญ่ที่รัฐกำหนด
ในการสมัครเพื่อยกฐานะเป็นนครศูนย์กลาง นครนั้นจะต้องมีประชากรมากกว่า 300,000 คน และมีพื้นที่มากกว่า 100 ตารางกิโลเมตร แต่ก็มีข้อยกเว้นพิเศษตามคำสั่งของคณะรัฐมนตรีในการยกฐานะนครที่มีประชากรต่ำกว่า 300,000 คน แต่มากกว่า 200,000 คน[2] หลังจากการยกเลิกการปกครองรูปแบบนครพิเศษในวันที่ 1 เมษายน 2015 นครใด ๆ ที่มีประชากรมากกว่า 200,000 คน ก็สามารถขอยกฐานะเป็นนครศูนย์กลางได้[3] การขอยกฐานะจะต้องได้รับความเห็นชอบจากทั้งสภานครและสภาจังหวัด
คำว่า "นครศูนย์กลาง" กำหนดขึ้นตามวรรคแรกของมาตรา 252 หมวด 22 ของกฎหมายปกครองตนเองท้องถิ่นของประเทศญี่ปุ่น[4]
รายชื่อนครศูนย์กลาง
[แก้]ณ วันที่ 1 เมษายน 2020 ซึ่งเป็นวันที่มีการพิจารณาฐานะนครครั้งล่าสุด มีนคร 60 แห่งที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นนครศูนย์กลาง ดังนี้[3][5]
ภูมิภาค | จังหวัด (กิ่งจังหวัด) |
ชื่อ | วันที่แต่งตั้ง เป็นนครศูนย์กลาง |
หมายเหตุ |
---|---|---|---|---|
ฮกไกโด | ฮกไกโด (คามิกาวะ) |
![]() |
1 เมษายน 2000 | ที่ตั้งสำนักงานกิ่งจังหวัด |
ฮกไกโด (โอชิมะ) |
![]() |
1 ตุลาคม 2005 | ที่ตั้งสำนักงานกิ่งจังหวัด, เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2005 | |
อาโอโมริ | ![]() |
1 ตุลาคม 2006 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | |
![]() |
1 มกราคม 2017 | เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2016 | ||
อิวาเตะ | ![]() |
1 เมษายน 2008 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2008 | |
อากิตะ | ![]() |
1 เมษายน 1997 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | |
ยามางาตะ | ![]() |
1 เมษายน 2019 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2019 | |
ฟูกูชิมะ | ![]() |
1 เมษายน 1997 | ||
![]() |
1 เมษายน 1999 | |||
![]() |
1 เมษายน 2018 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | ||
คันโต | อิบารากิ | ![]() |
1 เมษายน 2020 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2020 |
โทจิงิ | ![]() |
1 เมษายน 1996 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | |
กุมมะ | ![]() |
1 เมษายน 2009 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2009 | |
![]() |
1 เมษายน 2011 | เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2011 | ||
ไซตามะ | ![]() |
1 เมษายน 2003 | ||
![]() |
1 เมษายน 2015 | เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2015 | ||
![]() |
1 เมษายน 2018 | เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018 | ||
ชิบะ | ![]() |
1 เมษายน 2003 | เป็นนครศูนย์กลางที่มีประชากรมากที่สุด[6] | |
![]() |
1 เมษายน 2008 | |||
โตเกียว | ![]() |
1 เมษายน 2015 | ||
คานางาวะ | ![]() |
1 เมษายน 2001 | ||
ชูบุ | โทยามะ | ![]() |
1 เมษายน 2005 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด |
อิชิกาวะ | ![]() |
1 เมษายน 1996 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | |
ฟูกูอิ | ![]() |
1 เมษายน 2019 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2019 | |
ยามานาชิ | ![]() |
1 เมษายน 2019 | เป็นนครศูนย์กลางที่มีมีประชากรน้อยที่สุด,[6] ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2019 | |
นางาโนะ | ![]() |
1 เมษายน 1999 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | |
![]() |
1 เมษายน 2021 | เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2021 | ||
กิฟุ | ![]() |
1 เมษายน 1996 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | |
ไอจิ | ![]() |
1 เมษายน 1998 | ||
![]() |
1 เมษายน 1999 | |||
![]() |
1 เมษายน 2003 | |||
![]() |
1 เมษายน 2021 | เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2021 | ||
คันไซ | ชิงะ | ![]() |
1 เมษายน 2009 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2009 |
โอซากะ | ![]() |
1 เมษายน 2003 | ||
![]() |
1 เมษายน 2005 | |||
![]() |
1 เมษายน 2012 | เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2012 | ||
![]() |
1 เมษายน 2014 | เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2014[7][8] | ||
![]() |
1 เมษายน 2018 | เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018 | ||
![]() |
1 เมษายน 2019 | เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2019 | ||
![]() |
1 เมษายน 2020 | เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2020 | ||
เฮียวโงะ | ![]() |
1 เมษายน 1996 | ||
![]() |
1 เมษายน 2008 | |||
![]() |
1 เมษายน 2009 | เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2009 | ||
![]() |
1 เมษายน 2018 | เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018 | ||
นาระ | ![]() |
1 เมษายน 2002 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | |
วากายามะ | ![]() |
1 เมษายน 1997 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | |
ชูโงกุ | ทตโตริ | ![]() |
1 เมษายน 2018 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018 |
ชิมาเนะ | ![]() |
1 เมษายน 2018 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด, เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2018 | |
โอกายามะ | ![]() |
1 เมษายน 2002 | ||
ฮิโรชิมะ | ![]() |
1 เมษายน 1998 | ||
![]() |
1 เมษายน 2016 | เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2016 | ||
ยามางูจิ | ![]() |
1 ตุลาคม 2005 | เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2005 | |
ชิโกกุ | คางาวะ | ![]() |
1 เมษายน 1999 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด |
เอฮิเมะ | ![]() |
1 เมษายน 2000 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | |
โคจิ | ![]() |
1 เมษายน 1998 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | |
คีวชู | ฟูกูโอกะ | ![]() |
1 เมษายน 2008 | เป็นนครพิเศษจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2008 |
นางาซากิ | ![]() |
1 เมษายน 1997 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | |
![]() |
1 เมษายน 2016 | เป็นนครพิเศษ ณ เวลาบังคับใช้จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2016 | ||
โออิตะ | ![]() |
1 เมษายน 1997 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | |
มิยาซากิ | ![]() |
1 เมษายน 1998 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | |
คาโงชิมะ | ![]() |
1 เมษายน 1996 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด | |
โอกินาวะ | ![]() |
1 เมษายน 2013 | ที่ตั้งศาลากลางจังหวัด |
นครศูนย์กลางในอดีต
[แก้]ภูมิภาค | จังหวัด | ชื่อ | ภาษาญี่ปุ่น | วันที่แต่งตั้งเป็นนครศูนย์กลาง | วันที่ยกฐานะเป็นนครใหญ่ที่รัฐกำหนด |
---|---|---|---|---|---|
คันโต | คานางาวะ | ![]() |
相模原市 | 1 เมษายน 2003 | 1 เมษายน 2010 |
ชูบุ | ชิซูโอกะ | ![]() |
浜松市 | 1 เมษายน 1996 | 1 เมษายน 2007 |
![]() |
静岡市 | 1 เมษายน 1996 | 1 เมษายน 2005 | ||
นีงาตะ | ![]() |
新潟市 | 1 เมษายน 1996 | 1 เมษายน 2007 | |
คันไซ | โอซากะ | ![]() |
堺市 | 1 เมษายน 1996 | 1 เมษายน 2006 |
ชูโงกุ | โอกายามะ | ![]() |
岡山市 | 1 เมษายน 1996 | 1 เมษายน 2009 |
คีวชู | คูมาโมโตะ | ![]() |
熊本市 | 1 เมษายน 1996 | 1 เมษายน 2012 |
นครที่มีกำหนดจะยกฐานะเป็นนครศูนย์กลาง
[แก้]ภูมิภาค | จังหวัด | ชื่อ | ภาษาญี่ปุ่น | วันที่กำหนดยกฐานะ |
---|---|---|---|---|
คันโต | คานางาวะ | ![]() |
茅ヶ崎市 | 1 เมษายน 2020 |
![]() |
小田原市 | 1 เมษายน 2020 | ||
อิบารากิ | ![]() |
つくば市 | จะกำหนดภายหลัง | |
ไซตามะ | ![]() |
所沢市 | จะกำหนดภายหลัง | |
ชูบุ | ชิซูโอกะ | ![]() |
富士市 | จะกำหนดภายหลัง |
นางาโนะ | ![]() |
松本市 | 1 เมษายน 2020 | |
ไอจิ | ![]() |
一宮市 | 2021 (ตั้งเป้าหมาย) | |
คันไซ | โอซากะ | ![]() |
岸和田市 | 1 เมษายน 2020 |
มิเอะ | ![]() |
四日市市 | 2020 (ตั้งเป้าหมาย) |
นครที่ตรงตามข้อกำหนด แต่ยังไม่มีการเสนอชื่อ
[แก้]นครต่อไปนี้มีประชากรมากกว่า 200,000 คน แต่ยังไม่มีการเสนอชื่อ (นครที่มีแผนขอยกฐานะเป็นนครศูนย์กลางจะไม่แสดงในรายชื่อนี้)
มัตสึโดะ จังหวัดชิบะ
อิจิกาวะ จังหวัดชิบะ
มาจิดะ มหานครโตเกียว
ฟูจิซาวะ จังหวัดคานางาวะ
อาเงโอะ จังหวัดไซตามะ
อิจิฮาระ จังหวัดชิบะ
โชฟุ มหานครโตเกียว
ฟูจู มหานครโตเกียว
สึ จังหวัดมิเอะ
โทกูชิมะ จังหวัดโทกูชิมะ
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Web-Japan.org, "Local self-government," p. 3; retrieved 2012-11-28.
- ↑ 日本財団図書館(電子図書館) Revised Local Autonomy Law. nippon.zaidan.info.
- ↑ 3.0 3.1 日本總務省 - 中核市・施行時特例市. soumo.go.jp (ภาษาญี่ปุ่น).
- ↑ 日本財団図書館(電子図書館) Revised Local Autonomy Law. nippon.zaidan.info.
- ↑ "総務省|地方公共団体の区分|中核市・施行時特例市". กระทรวงกิจการภายในและการสื่อสาร รัฐบาลญี่ปุ่น. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2563.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ 6.0 6.1 2018年(平成30年)10月1日現在の推計人口, 日本の市の人口順位も参照
- ↑ "新藤総務大臣閣議後記者会見の概要" (Press release). 総務省. 2013年11月26日. สืบค้นเมื่อ 2013年11月26日.
{{cite press release}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help) - ↑ "大阪府枚方市を中核市指定=佐賀は特例市-政府". 時事通信. 2013年11月26日. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-04. สืบค้นเมื่อ 2013年11月26日.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|accessdate=
และ|date=
(help)
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- "Japan's Evolving Nested Municipal Hierarchy: The Race for Local Power in the 2000s," by A.J. Jacobs at Urban Studies Research, Vol. 2011 (2011); doi:10.1155/2011/692764
- "Large City System of Japan"; graphic shows core cities compared with other Japanese city types at p. 1 [PDF 7 of 40]
- "Growth in Second Tier Cities - Urban Policy Lessons from Japan" เก็บถาวร 2019-09-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน briefing by CLAIR London on classes of Japanese cities (PDF)
- กระทรวงมหาดไทยและการสื่อสาร (ญี่ปุ่น)