ข้ามไปเนื้อหา

ตัวแบบระดับการเคาะแป้นพิมพ์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ตัวแบบระดับการเคาะแป้นพิมพ์ ชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า Keystroke-Level Model หรือตัวย่อ (KLM) คือกลวิธีในการคาดการณ์ว่าจะใช้เวลานานเท่าใด ที่ผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในระดับผู้เชี่ยวชาญที่จะสามารถบรรลุเป้าหมายที่เป็นภาระงานประจำได้โดยที่ไม่มีข้อผิดพลาดเกิดขึ้นเลย โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์แบบโต้ตอบได้ (interactive computer system) [1] ได้รับการเสนอโดย สจ็วต เค. การ์ด (Stuart K. Card), โทมัส พี. มอแรน (Thomas P. Moran) และ อัลเลน นีเวลล์ (Allen Newell) ในปี 1980 เพื่อใช้ในการติดต่อสื่อสารของ ACM และ การตีพิมพ์เผยแพร่หนังสือของพวกเขาที่มีชื่อว่า "จิตวิทยาของการมีปฏิสัมพันธ์กันระหว่างคอมพิวเตอร์และมนุษย์" (The Psychology of Human-Computer Interaction) ในปี 1983

ดูเพิ่มเติม

[แก้]

ลิ้งค์ภายนอก

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Card, Stuart K; Moran, Thomas P; Allen, Newell (1980). "The keystroke-level model for user performance time with interactive systems". Communications of the ACM. 23 (7): 396. doi:10.1145/358886.358895.