ข้ามไปเนื้อหา

มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน

พิกัด: 40°26′33″N 79°56′36″W / 40.44250°N 79.94333°W / 40.44250; -79.94333
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Carnegie Mellon University)
มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน
ชื่อเดิมCarnegie Technical Schools (1900–1912)
Carnegie Institute of Technology (1912–1967)
Mellon Institute of Industrial Research (1913–1967)
คติพจน์My heart is in the work
ประเภทมหาวิทยาลัยวิจัยเอกชน
สถาปนา1967; 58 ปีที่แล้ว (1967)
ผู้สถาปนา
ได้รับการรับรองMSCHE
สังกัดวิชาการ
ทุนทรัพย์3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2022)[1]
อธิการบดีมหาวิทยาลัยFarnam Jahanian
ผู้เป็นประธานJames Garrett
อาจารย์1,483 (มีนาคม ค.ศ. 2020)[2]
ผู้ศึกษา15,818 (ฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 2021)[3]
ปริญญาตรี7,308 (ฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 2021)[3]
บัณฑิตศึกษา8,393 (ฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 2021)[3]
ที่ตั้ง,
รัฐเพนซิลเวเนีย
,
สหรัฐ

40°26′33″N 79°56′36″W / 40.44250°N 79.94333°W / 40.44250; -79.94333
วิทยาเขตLarge City,[4] 157.2 เอเคอร์ (63.6 เฮกตาร์)[5]
วิทยาเขตอื่น
หนังสือพิมพ์The Tartan
สี  แดงคาร์เนกี
  ดำ
  เทาเหล็กกล้า
  เทาเหล็ก[6][7]
ฉายาTartans
เครือข่ายกีฬา
มาสคอต
Scotty the Scottish Terrier[9]
เว็บไซต์cmu.edu
อาคารเรียนคณะวิทยาการคอมพิวเตอร์
แอนดรูว์ คาร์เนกี ผู้ก่อตั้งวิทยาลัยเทคนิคคาร์เนกี

มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน (อังกฤษ: Carnegie Mellon University) เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ตั้งอยู่ในเมืองพิตซ์เบิร์ก รัฐเพนซิลเวเนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2510 โดยสถาบันเทคโนโลยีคาร์เนกี และสถาบันวิจัยอุตสาหกรรมเมลลอน คาร์เนกีเมลลอนมีชื่อเสียงในฐานะมหาวิทยาลัยชั้นนำของโลกในด้านการผลิตหุ่นยนต์อุตสาหกรรม วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และการแสดง[10]

บุคลากรจากคาร์เนกีเมลลอนได้รับรางวัลโนเบล 20 รางวัล รางวัลทัวริง 13 รางวัล รางวัลเอมมี 124 รางวัล รางวัลโทนี 47 รางวัล และรางวัลออสการ์ 10 รางวัล[11]

ผลงานโดดเด่นของบรรดาศิษย์เก่าคาร์เนกีเมลลอนได้แก่ การผลิตรถยนต์ไร้คนขับ การคิดค้นโปรแกรมจาวา และการพัฒนาปัญญาประดิษฐ์ หรือ เอไอ ชิ้นแรกของโลกที่เป็นจุดเริ่มต้นให้คอมพิวเตอร์คิดและแก้ไขปัญหาได้คล้ายมนุษย์จนเกิดประโยชน์ในวงการต่างๆมากมาย ทั้งในแวดวงธุรกิจ การแพทย์ และการพัฒนาสังคม เป็นต้น[12]

มหาวิทยาลัยคาร์เนกีเมลลอน ได้เข้ามาจัดการศึกษาในประเทศไทยร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ในรูปแบบสถาบันร่วม (Joint Institute) ภายใต้ชื่อมหาวิทยาลัยซีเอ็มเคแอล (CMKL University)[13]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. As of Dec 5, 2022. Carnegie Mellon Endowment Reaches $3.1 Billion in 2021 - News - Carnegie Mellon University (Report). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 4, 2022. สืบค้นเมื่อ January 4, 2022.
  2. "CMU Fact Sheet" (PDF). Carnegie Mellon University. March 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ April 21, 2020. สืบค้นเมื่อ April 21, 2020.
  3. 3.0 3.1 3.2 "Enrollment - Institutional Research and Analysis - Office of Institutional Effectiveness and Planning - Carnegie Mellon University". Carnegie Mellon University Institutional Research and Analysis. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 4, 2022. สืบค้นเมื่อ January 4, 2022.
  4. "IPEDS-Carnegie Mellon University". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ November 7, 2021. สืบค้นเมื่อ November 7, 2021.
  5. "Carnegie Mellon 2020-2021 Financial Report" (PDF). Carnegie Mellon Annual Financial Report 2021. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ January 4, 2022. สืบค้นเมื่อ January 4, 2022.
  6. "The CMU Brand - Brand Guidelines". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 3, 2021. สืบค้นเมื่อ August 3, 2021.
  7. "The CMU Brand - Core Colors". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ August 3, 2021. สืบค้นเมื่อ August 3, 2021.
  8. "2015–2016 Undergraduate Catalog: Department of Athletics and Physical Education". Carnegie Mellon University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ October 13, 2015. สืบค้นเมื่อ October 15, 2015.
  9. "Carnegie Mellon's Mascot". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 3, 2009. สืบค้นเมื่อ September 20, 2009.
  10. "Carnegie Mellon Rankings U.S. News and World Report". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-05-19. สืบค้นเมื่อ 2009-05-31.
  11. Awards - CMU - Carnegie Mellon University[ลิงก์เสีย]
  12. "คาร์เนกีเมลลอนจับมือสจล.เปิดม.ซีเอ็มเคแอลแห่งแรกในเอเชีย". ฐานเศรษฐกิจ. สืบค้นเมื่อ 2021-01-04.
  13. “CMKL” เปิดรับ น.ศ.ปี”61 มุ่งสู่มหา’ลัยนวัตกรรมระดับโลก

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

แม่แบบ:Americana Poster