ซูเปอร์ฮิวแมนซามูไรไซเบอร์-สคว็อด
บทความเกี่ยวกับการ์ตูนหน้านี้ต้องการเก็บกวาด อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้
|
ซูเปอร์ฮิวแมนซามูไรไซเบอร์-สคว็อด (อังกฤษ: Superhuman Samurai Syber Squad) เป็นละครโทรทัศน์สหรัฐที่นำผลงานมาจากละครโทรทัศน์โทคุซัทสึ เด็นโคโจจินกริดแมนของประเทศญี่ปุ่นมาทำใหม่ในรูปแบบละครโทรทัศน์ฉบับอเมริกัน ผลิตโดย สึบุรายะโปรดักชัน, Ultracom Inc. และ DIC Productions, L.P. ออกอากาศเมื่อวันที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2537 จนถึงวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 ทางสถานีโทรทัศน์บริษัทแพร่สัญญาณอเมริกัน มีจำนวนตอนทั้งหมด 53 ตอน
ภาพรวม
[แก้]ซูเปอร์ฮิวแมนซามูไรไซเบอร์-สคว็อด เป็นผลงานที่นำที่นำผลงานมาจากละครโทรทัศน์โทคุซัทสึประเทศญี่ปุ่นเรื่อง เด็นโคโจจินกริดแมน มาทำเป็นละครโทรทัศน์ของอเมริกา[1] โดยสร้างมาจากอิทธิพลของความนิยมของ พาวเวอร์เรนเจอร์ ที่ผลิตโดย ซาบันเอนเตอร์เทนเมนท์[2][3] ซึ่งแตกต่างจากพาวเวอร์เรนเจอร์ ตรงที่ฉากต่อสู้ไม่ได้ถูกถ่ายทำใหม่และฉากต่อสู้ที่ใช้แล้วถูกนำกลับมาใช้ซ้ำอีกรอบ[2][4] ฉากใหม่ทั้งหมดถ่ายทำในฉากต่างๆ และประเภทของฉากรวมถึงห้องของตัวละครหลัก, โถงทางเดิน, โรงอาหารของโรงเรียน และห้องขับยานรบของยานพาหนะ[2] ว่ากันว่าหลายตอนสามารถถ่ายทำในช่วงเวลาสั้น ๆ และถ่ายทำด้วยจำนวนเซ็ตงบประมาณที่น้อยมาก[5]
เซนแมน เมกอน และ มาร์ค ซาแร็บ ผู้เขียนบทโทรทัศน์ถูกรับจ้างงานเนื่องจากความรวดเร็วในการเขียน โดยเขียนบท 4 ตอนต่อสัปดาห์[5] โดยเมกอนได้กล่าวในช่วงเขียนบทว่า เป็น "วันที่เกาหัวตัวเองมากที่สุด" แต่เนื่องจากไม่มีการตรวจสอบบทสคริปต์ในฝั่งของ DIC นอกจากนี้ยังบอกว่าพวกเขาจึงสามารถรวมเนื้อหาเพลงของวง เดอะบีเทิลส์ ที่พวกเขาชื่นชอบไว้ในละครโทรทัศน์ได้[5]
เนื้อเรื่อง
[แก้]ตัวละคร
[แก้]ทีมซามูไร
[แก้]- แซม คอลลิน (Sam Collins) / เซอร์โว (Servo)
- แท็งเกอร์ (Tanker)
- ซิดนีย์ ซิด ฟอร์เรสเตอร์ (Sydney "Syd" Forrester)
- แอมป์ เอลล์ (Amp Ere)
- ลัคกี้ ลอนดอน (Lucky London)
บุคคลที่เกี่ยวข้อง
[แก้]- เจนนิเฟอร์ เจน ดอยล์ (Jennifer "Jen" Doyle)
- ริมบ้า ชาชา สตาร์กี้ (Rimba "Cha-Cha" Starkey)
- โยลันดา โยลี่ พลาเชต (Yolanda "Yoli" Pratchert)
- เอลิซาเบธ ลิซ คอลลิน (Elizabeth "Liz" Collins)
ศัตรู
[แก้]- กิโลคาร์น (Kilokahn)
- มัลคอม ฟริงค์ (Malcolm Frink)
- เมก้าไวรัส มอนสเตอร์ (Mega-Virus Monster)
ยานรบและอาวุธ
[แก้]- ดิจิทัลคอมมูนิเคเตอร์ (Digital Communicator)
- ซามูไรซอร์ด (Samurai Sword)
- ซามูไรชิลด์ (Samurai Shield)
- ซามูไรซิงค์ซอร์ด (Samurai Sync-Sword)
- วิทเตอร์ (Vitter)
- ทรัคต์ (Tracto)
- โบลาร์ (Bolar)
- ซีนอน (Zenon)
- ซิงโคร (Synchro)
- ดราก้อนแคนนอน (Dragon Cannon)
- แจมบ์ (Jamb)
- ทอร์บ (Torb)
- ดราโก (Drago)
- ฟอร์โม (Phormo)
อ้างอิง
[แก้]บรรณานุกรม
[แก้]- ↑ "ヒーローメモリアル「電光超人グリッドマン」". 玩具人生. 音楽専科社 (第三・第四合併号): 53. 2001-02-01.
{{cite journal}}
: ข้อความ "和書" ถูกละเว้น (help) - ↑ 2.0 2.1 2.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อSF
- ↑ 竹書房/イオン編, บ.ก. (1995-11-30). "BonusColumn アメリカン・テレビ・ヒーローの歴史". 超人画報 国産架空ヒーロー40年の歩み. 竹書房. p. 191. ISBN 4-88475-874-9. C0076.
{{cite book}}
: ข้อความ "和書" ถูกละเว้น (help) - ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อdenofgeek
- ↑ 5.0 5.1 5.2 "'PUMP UP THE POWER!': A LOOK BACK AT SUPERHUMAN SAMURAI SYBER-SQUA". SYFY WIRE. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-04-30. สืบค้นเมื่อ 2021-04-30.