ซิมวาสแตติน
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
การอ่านออกเสียง | /ˈsɪmvəstætɪn/ |
ชื่อทางการค้า | Zocor, อื่น ๆ |
AHFS/Drugs.com | โมโนกราฟ |
MedlinePlus | a692030 |
ข้อมูลทะเบียนยา |
|
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ |
|
ช่องทางการรับยา | ทางปาก |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย | |
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | 5% |
การจับกับโปรตีน | 95% |
การเปลี่ยนแปลงยา | ตับ (CYP3A4) |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 2 ชั่วโมงสำหรับซิมวาสแตติน และ 1.9 ชั่วโมงสำหรับกรดซิมวาสแตติน |
การขับออก | ไต 13%, อุจจาระ 60% |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
IUPHAR/BPS | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
UNII | |
KEGG | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.115.749 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C25H38O5 |
มวลต่อโมล | 418.574 g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
| |
| |
(verify) | |
ซิมวาสแตติน (อังกฤษ: simvastatin) มีชื่อทางการค้าว่า Zocor และอื่น ๆ เป็นหนึ่งในสแตติน (ประเภทหนึ่งของยาลดไขมัน)[2] ที่ใช้ร่วมกับการออกกำลังกาย ไดเอต และลดน้ำหนัก เพื่อลดระดับไขมันสูง[2] และยังใช้เป็นยาลดความเสี่ยงต่อผู้ที่มีปัญหาเรื่องหัวใจในกรณีที่ร้ายแรง[2]
ผลข้างเคียงทั่วไปได้แก่ท้องผูก, ปวดหัว และคลื่นไส้[2] ผลข้างเคียงร้ายแรงอาจรวมถึงภาวะกล้ามเนื้อสลาย, ปัญหาที่ตับ และระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น[2] ผู้ที่มีอาการที่ไตควรบริโภคในระดับน้อย[2] มีหลักฐานว่ายานี้จะทำอันตรายต่อเด็กทารกในช่วงตั้งครรภ์[2][3] และผู้ที่เลี้ยงลูกด้วยนมไม่ควรใช้ยาชนิดนี้[2]
ซิมวาสแตตินผลิตจากเห็ดรา Aspergillus terreus[4] จากนั้นทาง Merck ได้จดสิทธิบัตรใน ค.ศ. 1980 และเริ่มใช้งานทางการแพทย์ใน ค.ศ. 1992[4][5] ซิมวาสแตตินมีให้ใช้เป็นยาสามัญ[2] และได้รับการบรรจุลงในรายชื่อยาสำคัญขององค์การอนามัยโลก[6]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Active substance: simvastatin" (PDF). List of nationally authorised medicinal products. European Medicines Agency. 26 November 2020.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 "Simvastatin". The American Society of Health-System Pharmacists. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 January 2015. สืบค้นเมื่อ 8 January 2015.
- ↑ "Prescribing medicines in pregnancy database". Australian Government. 3 March 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 April 2014. สืบค้นเมื่อ 22 April 2014.
- ↑ 4.0 4.1 Cechinel-Filho V (2012). Plant bioactives and drug discovery : principles, practice, and perspectives. Hoboken, N.J.: John Wiley & Sons. p. 104. ISBN 9780470582268. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2016.
- ↑ Fischer J, Ganellin CR (2006). Analogue-based Drug Discovery (ภาษาอังกฤษ). John Wiley & Sons. p. 472. ISBN 9783527607495.
- ↑ World Health Organization (2019). World Health Organization model list of essential medicines: 21st list 2019. Geneva: World Health Organization. hdl:10665/325771. WHO/MVP/EMP/IAU/2019.06. License: CC BY-NC-SA 3.0 IGO.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- "Simvastatin". Drug Information Portal. U.S. National Library of Medicine.