ข้ามไปเนื้อหา

ชีวภูมิศาสตร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
หน้ารูปภาพพิเศษของหนังสือ การกระจายทางภูมิศาสตร์ของสัตว์ (The Geographical Distribution of Animals) โดยอัลเฟรด รัสเซล วอลเลซ

ชีวภูมิศาสตร์ (อังกฤษ: biogeography) คือการศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของสปีชีส์และระบบนิเวศในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์รวมถึงธรณีกาล สิ่งมีชีวิตและกลุ่มทางชีววิทยามักมีความแตกต่างกันไปตามลักษณะทางภูมิศาสตร์ ได้แก่ ละติจูด ระดับสูง บริเวณที่แตกต่างและพื้นที่อยู่อาศัย[1] ชีวภูมิศาสตร์มีแขนงวิชาย่อยคือภูมิศาสตร์พืชซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของพืชและภูมิศาสตร์สัตว์ที่ศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของสัตว์

ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงเชิงพื้นที่จากจำนวนและชนิดของสิ่งมีชีวิตมีความสำคัญต่อมนุษย์จนถึงทุกวันนี้เช่นเดียวกับบรรพบุรุษเริ่มแรกของมนุษย์ โดยมนุษย์มีการปรับตัวให้สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันและสามารถคาดการณ์สิ่งแวดล้อมในทางภูมิศาสตร์ได้ ชีวภูมิศาสตร์จึงเป็นสาขาที่บูรณาการแนวคิดและข้อมูลจากสาขานิเวศวิทยา ชีววิทยาวิวัฒนาการ ธรณีวิทยา และภูมิศาสตร์กายภาพ[2]

การวิจัยทางชีวภูมิศาสตร์สมัยใหม่มีการรวบรวมข้อมูลและแนวคิดจากหลายสาขาจากข้อจำกัดทางกายภาพและนิเวศวิทยาของการแพร่พันธุ์ของสิ่งมีชีวิตต่อปรากฏการณ์ทางธรณีวิทยาและภูมิอากาศวิทยาในระดับโลกและกรอบเวลาของวิวัฒนาการ

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Brown University, "Biogeography." Accessed February 24, 2014. "Biogeography". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-20. สืบค้นเมื่อ 2014-04-08..
  2. Dansereau, Pierre. 1957. Biogeography; an ecological perspective. New York: Ronald Press Co.

ดูเพิ่ม

[แก้]
  • Albert, J. S., & R. E. Reis (2011). Historical Biogeography of Neotropical Freshwater Fishes. University of California Press, Berkeley. 424 pp.
  • Albert, J.S.; Crampton, W.G.R. (2010). "The geography and ecology of diversification in Neotropical freshwaters". Nature Education. 1 (10): 3.
  • Cox, C. B. (2001). The biogeographic regions reconsidered. Journal of Biogeography, 28: 511–523, [1].
  • Ebach, M.C. (2015). Origins of biogeography. The role of biological classification in early plant and animal geography. Dordrecht: Springer, xiv + 173 pp., [2].
  • Lieberman, B. S. (2001). "Paleobiogeography: using fossils to study global change, plate tectonics, and evolution". Kluwer Academic, Plenum Publishing, [3].
  • Lomolino, M. V., & Brown, J. H. (2004). Foundations of biogeography: classic papers with commentaries. University of Chicago Press, [4].
  • MacArthur, Robert H. (1972). Geographic Ecology. New York: Harper & Row.
  • McCarthy, Dennis (2009). Here be dragons : how the study of animal and plant distributions revolutionized our views of life and Earth. Oxford & New York: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-954246-8.
  • Millington, A., Blumler, M., & Schickhoff, U. (Eds.). (2011). The SAGE handbook of biogeography. Sage, London, [5].
  • Nelson, G.J. (1978). From Candolle to Croizat: Comments on the history of biogeography เก็บถาวร 2015-04-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. Journal of the History of Biology, 11: 269–305.
  • Udvardy, M. D. F. (1975). A classification of the biogeographical provinces of the world. IUCN Occasional Paper no. 18. Morges, Switzerland: IUCN. [6] เก็บถาวร 2011-08-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]
วารสารหลัก