ชานชาลายื่น
หน้าตา
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง |
ชานชาลายื่น | ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| ||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
สถานีที่มีรางเดียวและชานชาลาหนึ่งช่อง
|
ชานชาลายื่น เป็นชานชาลารูปแบบหนึ่ง นิยมใช้ในสหราชอาณาจักรและประเทศออสเตรเลีย เพื่อเป็นจุดสิ้นสุดของชานชาลาของสถานีรถไฟ[1] ชานชาลายื่น จะมีขนาดสั้นกว่าชานชาลาแบบอื่น ๆ ตัวอย่างของชานชาลารูปแบบนี้ในประเทศไทย ได้แก่ สถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง)
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ Mortimer, Simon (2007). Baywatch (4th edition). Kentrail Enthusiasts Group.
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ ชานชาลายื่น