ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดลวุฟ

พิกัด: 49°50′05″N 24°01′41″E / 49.834834°N 24.027997°E / 49.834834; 24.027997
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดลวุฟ
Województwo lwowskie
จังหวัดของโปแลนด์
1920 – 1939
Coat of arms of ลวุฟ
ตราอาร์ม

จังหวัดลวุฟ (น้ำเงินเข้ม) ในแผนที่สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2
เมืองหลวงลวุฟ
พื้นที่ 
• 1921
27,024 ตารางกิโลเมตร (10,434 ตารางไมล์)
• 1939
28,402 ตารางกิโลเมตร (10,966 ตารางไมล์)
ประชากร 
• 1921
2718014
• 1931
3126300
การปกครอง
 • ประเภทจังหวัด
ผู้ว่าการจังหวัด 
• 1921–1924
กาซีมีแยช กราบอฟสกี
• 1937–1939
อัลเฟรด บีวึก
ยุคทางประวัติศาสตร์สมัยระหว่างสงคราม
• ก่อตั้ง
23 ธันวาคม 1920
กันยายน 1939
สิงหาคม ค.ศ. 1944
หน่วยย่อยทางการเมือง27 เทศมณฑล
ก่อนหน้า
ถัดไป
อาณาจักรกาลิเซียและโลโดเมเรีย
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน
เขตปกครองสามัญ
รัฐใต้ดินโปแลนด์
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของยูเครน, โปแลนด์

จังหวัดลวุฟ (โปแลนด์: Województwo lwowskie) เป็นหน่วยบริหารของโปแลนด์ช่วงระหว่างสงคราม (ค.ศ. 1918–1939) ภายหลังถูกยึดครองทั้งฝ่ายแวร์มัคท์และกองทัพแดงในเดือนกันยายน ค.ศ. 1939 หลังการรุกรานโปแลนด์ของโซเวียต-นาซีตามกติกาลับ อย่างไรก็ตาม หลังการบุกครองโปแลนด์ ฝ่ายบริหารใต้ดินโปแลนด์ยังคงดำเนินการต่อจนถึงเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1944 หลังสงครามสิ้นสุดลง มีเพียงครึ่งหนึ่งของจังหวัดเท่านั้นที่คืนให้กับโปแลนด์ ส่วนฝั่งตะวันออก ซึ่งรวมเมืองลวุฟด้วย แบ่งตามเส้นแนวตั้งที่ปแชมึชล์ แล้วยกให้กับสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนตามข้อเรียกร้องของโจเซฟ สตาลินในช่วงการประชุมเตหะราน แล้วยืนยัน (ว่าไม่สามารถต่อรองได้) ในการประชุมยัลตาเมื่อ ค.ศ. 1945[1][2]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Sylwester Fertacz (2005), "Krojenie mapy Polski: Bolesna granica" (Carving of Poland's map). Magazyn Społeczno-Kulturalny Śląsk. Retrieved from the Internet Archive on 5 June 2016.
  2. Simon Berthon, Joanna Potts (2007). Warlords: An Extraordinary Re-Creation of World War II. Da Capo Press. p. 285. ISBN 978-0306816505.{{cite book}}: CS1 maint: uses authors parameter (ลิงก์)
  • Maly rocznik statystyczny 1939, Nakladem Glownego Urzedu Statystycznego, Warszawa 1939 (Concise Statistical Year-Book of Poland, Warsaw 1939).

49°50′05″N 24°01′41″E / 49.834834°N 24.027997°E / 49.834834; 24.027997