ข้ามไปเนื้อหา

คอร์เซรา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บริษัทคอร์เซรา
ภาพจับหน้าจอ
หน้าโฮมเพจของคอร์เซราในปี 2023
ประเภทของธุรกิจสาธารณะ
ประเภทการศึกษาออนไลน์
ภาษาที่ใช้ได้หลายภาษา (40)
การซื้อขายเอ็นวายเอสอีCOUR
สำนักงานใหญ่เมาน์เทนวิว รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐ
พื้นที่ให้บริการทั่วโลก
ผู้ก่อตั้ง
บุคคลสำคัญเจฟ มักโกนคัลดา[1][2][3]
(CEO)
อุตสาหกรรมอีเลิร์นนิง
รายได้เพิ่มขึ้น US$524 ล้าน (2022) [4]
รายได้จากการดำเนินงานลดลง US$−177 ล้าน (2022)[4]
รายได้สุทธิลดลง US$−175 ล้าน (2022)[4]
สินทรัพย์รวมลดลง US$948 ล้าน (2022)[4]
รวมส่วนของผู้ถือหุ้นลดลง US$695 ล้าน (2022)[4]
พนักงาน1,401 (ธันวาคม 2022)[4]
ยูอาร์แอลcoursera.org
เชิงพาณิชย์ใช่
ลงทะเบียนบังคับ
ผู้ใช้118 ล้าน (2022)[4]
เปิดตัวเมษายน 2012; 12 ปีที่แล้ว (2012-04)
สถานะปัจจุบันActive

บริษัทคอร์เซรา (อังกฤษ: Coursera Inc., /kərˈsɛrə/) เป็นผู้ให้บริการคอร์สเรียนออนไลน์แบบเปิดขนาดมหึมาที่มีสำนักงานใหญ่อยู่ในสหรัฐ ก่อตั้งขึ้นในปี 2012[5][6] โดยศาสตราจารย์ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ประจำมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด แอนดรูว์ อึ่ง และ แดฟเน คอลเลอร์[7] คอร์เซรายังทำงานร่วมกับมหาวิทยาลัยและองค์การต่าง ๆ เพื่อให้บริการคอร์สเรียนออนไลน์, ใบเกียรติบัตรรับรองการเข้าร่วม และวุฒิบัตรในสาขาวิชาต่าง ๆ มากมาย ในปี 2023 มีบริษัทและมหาวิทยาลัยมากกว่า 275 องค์กรที่ให้บริการมากกว่า 4,000 คอร์สผ่านทางคอร์เซรา[8]

ประวัติศาสตร์

[แก้]

คอร์เซราก่อตั้งขึ้นในปี 2012[9] โดยศาสตราจารย์ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ประจำมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด แอนดรูว์ อึ่ง[10] และ แดฟเน คอลเลอร์[11] ทั้งสองเริ่มให้บริการคอร์สของตนจากสแตนฟอร์ดในปี 2011[12] และไม่นานจากนั้นได้ออกจากมหาวิทยาลัยมาเพื่อเปิดตัวคอร์เซรา มหาวิทยาลัยพรินซ์ตัน, สแตนฟอร์ด, มิชิแกน และเพนซิลเวเนีย เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่มแรกที่ให้บริการคอร์สบนคอร์เซรา[13]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Das, Sejuti (2020-08-12). "IIT Roorkee Partners With Coursera To Offer AL, ML & Data Science Online Programs". Analytics India Magazine (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-30. สืบค้นเมื่อ 2020-08-25.
  2. "Sherry Coutu and Coursera step in to upskill UK's digital laggards". Sifted (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 30 July 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-07. สืบค้นเมื่อ 2020-08-25.
  3. Geron, Tomio (2020-07-28). "Jobless Workers Fuel Surge in Demand for Startups Offering Retraining". Wall Street Journal (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0099-9660. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-24. สืบค้นเมื่อ 2020-08-25.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 4.6 "Coursera Inc. 2022 Annual Report (Form 10-K)". U.S. Securities and Exchange Commission. 23 February 2023.
  5. Pappano, Laura (2012-11-02). "The Year of the MOOC". The New York Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0362-4331. สืบค้นเมื่อ 2021-12-06.
  6. "How Coursera Makes Money". Investopedia (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-12-06.
  7. Leighton, Mara. "Coursera is one of the top online learning platforms, with thousands of courses from schools like Yale, Geis College of Business and companies like Google — here's how it works". Business Insider (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2021-08-15.
  8. de León, Riley (5 March 2021). "Coursera files for IPO amid online learning boom". www.cnbc.com. CNBC. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 June 2021. สืบค้นเมื่อ 11 March 2021.
  9. Tamar Lewin (17 July 2012). "Universities Reshaping Education on the Web". The New York Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 October 2017. สืบค้นเมื่อ 24 March 2017.
  10. Quora. "Coursera Co-Founder Andrew Ng: AI Shouldn't Be Regulated As A Basic Technology". Forbes (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-07-13. สืบค้นเมื่อ 2017-10-05.
  11. NPR Staff (30 September 2012). "Online Education Grows Up, And For Now, It's Free Listen·18:14". NPR. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 May 2017. สืบค้นเมื่อ 24 March 2017.
  12. Staff (August 2012). "Teaching the World: Daphne Koller and Coursera". IEEE. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 March 2017. สืบค้นเมื่อ 24 March 2017.
  13. Waters, Audrey (18 April 2012). "Coursera, the Other Stanford MOOC Startup, Officially Launches with More Poetry Classes, Fewer Robo-Graders". Hacked Education. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 March 2017. สืบค้นเมื่อ 24 March 2017.