คลอไตรมาโซล
หน้าตา
ข้อมูลทางคลินิก | |
---|---|
ชื่อทางการค้า | Canesten, Camazole, Clomaz, Canasone, others |
AHFS/Drugs.com | โมโนกราฟ |
MedlinePlus | a682753 |
ระดับความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์ | |
ช่องทางการรับยา | ยาทา, ยาอม |
รหัส ATC | |
กฏหมาย | |
สถานะตามกฏหมาย |
|
ข้อมูลเภสัชจลนศาสตร์ | |
ชีวประสิทธิผล | Poor absorption by mouth (lozenge), negligible absorption through intact skin (topical) |
การจับกับโปรตีน | 90% |
การเปลี่ยนแปลงยา | ตับ |
ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ | 2 ชั่วโมง |
ตัวบ่งชี้ | |
| |
เลขทะเบียน CAS | |
PubChem CID | |
IUPHAR/BPS | |
DrugBank | |
ChemSpider | |
UNII | |
KEGG | |
ChEBI | |
ChEMBL | |
ECHA InfoCard | 100.041.589 |
ข้อมูลทางกายภาพและเคมี | |
สูตร | C22H17ClN2 |
มวลต่อโมล | 344.837 g/mol g·mol−1 |
แบบจำลอง 3D (JSmol) | |
| |
| |
(verify) | |
คลอไตรมาโซล (Clotrimazole) หรือชื่อทางการค้าคือ คาเนสเทน (Canesten) เป็นยาต้านเชื้อรา ใช้รักษาช่องคลอดอักเสบจากเชื้อรา, เชื้อราแคนดิดิเอสิสในช่องปาก, ผื่นผ้าอ้อมในทารก, โรคเกลื้อน และโรคจำพวกกลาก (อาทิโรคน้ำกัดเท้า) สามารถรับยานี้โดยวิธีการอมหรือโดยการทาที่ผิวหนังหรือทาในช่องคลอด[1]
อาการทั่วไปจากการใช้ยาแบบยาอมได้แก่คลื่นไส้หรือรู้สึกคัน ส่วนยาแบบทาอาจมีปรากฎรอยแดงหรือรอยไหม้ สตรีมีครรภ์สามารถใช้ยานี้แบบรับประทานได้ แต่ยังไม่มีผลศึกษาอย่างจริงจังว่าแบบยาอมจะมีผลต่อทารกหรือไม่ ผู้ที่ตับมีปัญหาควรใช้ยานี้อย่างรอบคอบ
คลอไตรมาโซนถูกคิดค้นในปี ค.ศ. 1969[2] และได้รับการขึ้นบัญชีเป็นยาหลักขององค์การอนามัยโลก[3] และมีวางจำหน่ายเป็นยาสามัญ[1]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 American Society of Health-System Pharmacists (8 February 2016). "Clotrimazole Monograph for Professionals". www.drugs.com. สืบค้นเมื่อ 28 October 2016.
- ↑ Walker, S. R. (2012). Trends and Changes in Drug Research and Development (ภาษาอังกฤษ). Springer Science & Business Media. p. 109. ISBN 9789400926592.
- ↑ "WHO Model List of Essential Medicines (19th List)" (PDF). World Health Organization. April 2015. สืบค้นเมื่อ 8 December 2016.