กุสตาฟ โฮลส์
หน้านี้มีเนื้อหาเป็นภาษาต่างประเทศ คุณสามารถช่วยพัฒนาหน้านี้ได้ด้วยการแปล ยกเว้นหากเนื้อหาเกือบทั้งหมดไม่ใช่ภาษาไทย ให้แจ้งลบแทน |
ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
กุสตาฟ โฮลส์ (อังกฤษ: Gustav Holst) (21 กันยายน ค.ศ. 1874–25 พฤษภาคม ค.ศ. 1934) เป็นนักดนตรีชาวอังกฤษ โดยโอสต์โด่งดังจากเพลงตับ เดอะ พลาเนตส์ [1]
โอสต์เรียนใน Royal College of Music ในกรุงลอนดอน[2] โดยเขาได้แรงจูงใจจาก Grieg, Wagner[3] Richard Strauss และ Ralph Vaughan Williams[4]
ชื่อเต็มของโฮลส์คือ Gustavus Theodor von Holst แต่เขาได้ตัด "von" จากชื่อของเขาเพื่อตอบสนองการต่อต้านเยอรมันในอังกฤษระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1 และทำให้เป็นทางการในพินัยกรรมเมื่อปี ค.ศ. 1918[1][2][5]
ประวัติ
[แก้]ช่วงเริ่มต้น
[แก้]โฮลส์เกิดในวันที่ 21 กันยายน ค.ศ. 1874 ที่บ้านเลขที่ 4 Pittville Terrace (ชื่อในปัจจุบัน:Clarence Road),[6] เมืองเชลันแฮม กลอสเตอร์เชอร์ ประเทศอังกฤษ[1][5][7] บ้านของเขาได้เปิดเป็นพิพิธภัณฑ์ ในปี ค.ศ. 1974[8]
กุสตาฟวัส วอน โฮลส์ (อังกฤษ: Gustavus von Holst) (เป็นปู่ของโฮลส์เกิดปี 1799)[6] ได้ย้ายจากเมืองไรกา ประเทศลัตเวีย ไปยังประเทศอังกฤษพร้อมกับพ่อแม่ของเขาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก เขากลายมาเป็นครูสอนและนักประพันธ์เพลงสำหรับฮาร์พชื่อดัง[5] อดอล์ฟ วอน โฮลส์ (อังกฤษ: Adolph von Holst) ผู้เป็นพ่อของโฮลส์เป็นนักเล่นหีบเพลงและนักร้องประสานเสียงที่โบสถ์ออล์เซนทส์ใน Pittville[1] พ่อของโฮลส์ได้สอนการเล่นเปียโนให้กับเขาด้วย
Audio biography
[แก้]ในปี ค.ศ. 2007 สถานีวิทยุ BBC ช่อง 4 ได้เปิด The Bringer of Peace ซึ่งเป็นอัตชีวประวัติของโฮลส์ที่กลัวว่าจะไม่ประสบความสำเร็จจากการแต่งเพลง เดอะ พลาเนตส์ [9]
ผลงาน
[แก้]ผลงานที่ทำให้โฮลส์โด่งดังคือ เดอะ พลาเนตส์ ซึ่งเป็นเพลงตับ มีทั้งหมด 7 เพลงด้วยกันประกอบไปด้วยดาวเคราะห์ 7 ดวงได้แก่ ดาวพุธ, ดาวศุกร์, ดาวอังคาร, ดาวพฤหัสบดี, ดาวเสาร์, ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน ซึ่งมีการเรียงลำดับดังนี้
- ดาวอังคาร, ผู้นำมาซึ่งสงคราม (Mars, the Bringer of War)
- ดาวศุกร์, ผู้นำมาซึ่งสันติ (Venus, the Bringer of Peace)
- ดาวพุธ, เทพสื่อสารติดปีก (Mercury, the Winged Messenger)
- ดาวพฤหัสบดี, ผู้นำมาซึ่งความรื่นรมย์ (Jupiter, the Bringer of Jollity)
- ดาวเสาร์, ผู้นำมาซึ่งความชรา (Saturn, the Bringer of Old Age)
- ดาวยูเรนัส, ผู้วิเศษ (Uranus, the Magician)
- ดาวเนปจูน, ฤๅษี (Neptune, the Mystic)
ผลงานที่ถูกเลือก
[แก้]ผลงานเด่นของกุสตาฟ โฮลส์ ได้แก่:[10]
- First Suite in E-flat for Military Band (1909)
- Second Suite in F for Military Band (1911)
- Hammersmith: Prelude and Scherzo H178, Op. 52
- St Paul's Suite[11][2]
- เดอะ พลาเนตส์ Op. 32 (1920) [2]
- Moorside Suite, A (Brass Band) (1928)
- Choral Fantasia (1930)
- Brook Green Suite
เชิงอรรถ
[แก้]- ↑ 1.0 1.1 1.2 1.3 "ConcBritannica-GHolst Britannica Concise, "Gustav Holst", 2006, webpage". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-12-31. สืบค้นเมื่อ 2011-02-12.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 2.3 B-GH Encyclopædia Britannica Online, "Gustav Holst", 2006
- ↑ Short, pp. 23–4
- ↑ HighBeam Encyclopedia, "Gustav Holst", 2006, Encyclopedia.com webpage: EC-GHolst.
- ↑ 5.0 5.1 5.2 "Gustavus Theodore Holst" (biography), Classical Net, 2006, webpage: CNet-GHolst.
- ↑ 6.0 6.1 Short, p.9
- ↑ "Holst Birthplace Museum website". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-07-01. สืบค้นเมื่อ 2011-02-12.
- ↑ ในปัจจุบันเป็นพิพิธภัณฑ์ขนาดเล็ก
- ↑ BBC – Press Office – Network Radio Programme Information Week 4 Wednesday 23 January 2008
- ↑ "Gustav Holst (1874–1934) | Compositions" (online), Kenric Taylor, 2006, GustavHolst.info webpage: GHI-opera เก็บถาวร 2010-10-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- ↑ Op.29 No.2 (Finale is another arrangement of the 4th movement in Second Suite) (1913)
อ้างอิง
[แก้]- Britannica Concise, "Gustav Holst", 2006, Concise.Britannica.com webpage: ConciseBritannica-GHolst เก็บถาวร 2007-12-31 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- Encyclopædia Britannica Online, "Gustav Holst", 2006, Britannica.com webpage: Britannica2006-GHolst.
- Michael Short, Gustav Holst: The Man and his Music Oxford: Oxford University Press, 1990.
- Kenric Taylor, "Gustav Holst (1874–1934) | Compositions" (list of works), 2006, GustavHolst.info webpage: GHolstInfo-Compositions เก็บถาวร 2010-10-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
[แก้]- Holst, Imogen, Gustav Holst: A Biography, Oxford University Press, 1938.
- Holst, Imogen, Gustav Holst and Thaxtead (4-page pamphlet)
- Randel, Michael, The Harvard Biographical Dictionary of Music, Harvard University Press, 1996. Cf. p. 390.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- www.GustavHolst.info
- Gustav Holst: The Lost Films (Discovered 2009)
- The Planets Suite Op. 32 เก็บถาวร 2008-09-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Live recording by Peabody Concert Orchestra (2002)
- Holst Birthplace Museum, Cheltenham เก็บถาวร 2010-03-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Gustav Holst at Pytheas Center for Contemporary Music
[[วิกิพีเดีย:|ข้อมูลบุคคล]] | |
---|---|
ชื่อ | Holst, Gustav} |
ชื่ออื่น | |
รายละเอียดโดยย่อ | |
วันเกิด | 1874 |
สถานที่เกิด | |
วันตาย | 1934 |
สถานที่ตาย |