ข้ามไปเนื้อหา

การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2557

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2557

← 2556 23 กุมภาพันธ์ และ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 2563 →

จำนวนทั้งสิ้น 2 จังหวัดที่มีการเลือกตั้ง
  First party Second party Third party
 
Abhisit Vejjajiva 2010.jpg
Yingluck Shinawatra at US Embassy, Bangkok, July 2011.jpg
พรรค ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย ไม่สังกัดพรรคใด
จำนวนจังหวัดที่ชนะ - 1 1

แผนที่แสดงการเลือกตั้งนายก อบจ. ใน พ.ศ. 2556–57
     มีการเลือกตั้ง      ไม่มีการเลือกตั้ง

แผนที่แสดงพรรคที่ผู้ชนะการเลือกตั้งสังกัด
     ประชาธิปัตย์      เพื่อไทย
     ไม่สังกัดพรรค      ไม่มีการเลือกตั้ง-->

การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทยระหว่าง พ.ศ. 2557 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (นายก อบจ.) ทั้งสิ้น 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดเชียงราย

นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดที่ได้รับเลือกตั้ง

[แก้]
รูปแบบ ความหมาย
ดำรงสมาชิกภาพ
สิ้นสุดสมาชิกภาพ
กกต./ศาลอุทธรณ์ สั่งให้มีการเลือกตั้งนายก อบจ.ใหม่
สี พรรค
พรรคเพื่อไทย
พรรคประชาธิปัตย์

แยกตามรายภาคตามการแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน

จังหวัด นาม สังกัด หมายเหตุ
เชียงราย บุศริณธญ์ วรพัฒนานันน์ พรรคเพื่อไทย
นครศรีธรรมราช มาโนช เสนพงศ์ กลุ่มประชาธิปัตย์สร้างสรรค์

การเลือกตั้ง

[แก้]

เรียงลำดับตามวันที่จัดการเลือกตั้ง

นครศรีธรรมราช

[แก้]

หลังจากการลาออกจากตำแหน่งก่อนครบวาระของ พิชัย บุณยเกียรติ อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราชที่ได้รับการเลือกตั้งตั้งแต่ พ.ศ. 2553 คณะกรรมการการเลือกตั้งจึงกำหนดให้มีการเลือกตั้งในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 มีผู้สมัครรับเลือกตั้งจำนวน 3 คน ได้แก่

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า มาโนช เสนพงศ์ ได้รับเลือกตั้งด้วนคะแนนเสียงสูงสุด มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งครั้งนี้เพียงร้อยละ 46.14[1][2]

ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช พ.ศ. 2557
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มประชาธิปัตย์สร้างสรรค์ มาโนช เสนพงศ์ (2) 277,580 56.09
กลุ่มประชาธิปไตย พิชัย บุณยเกียรติ (1)* 193,945 39.19 +1.69
อิสระ อิสระ หัสดินทร์ (3) 23,363 4.72
ผลรวม 385,706 100.00
บัตรดี 494,888 94.07
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 22,488 4.27
บัตรเสีย 8,720 1.66
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 526,096 46.14
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 1,140,241 100.00

เชียงราย

[แก้]

หลังจากที่ สลักจฤฎดิ์ ติยะไพรัช อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย ถูกศาลฎีกาตัดสิทธิ์ทางการเมือง 10 ปี กรณีถูกร้องเรียนว่า สลักจฤฎดิ์ได้แจกอุปกรณ์เครื่องเล่นเด็ก ขณะหาเสียงเลือกตั้งเมื่อ พ.ศ. 2547 จึงจำเป็นต้องจัดการเลือกตั้งขึ้นใหม่แทนสลักจฤฎดิ์ในวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 โดยมีผู้สมัครรับเลือกตั้งจำนวน 4 คน ได้แก่

ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า บุศริณธญ์ วรพัฒนานันน์ ได้รับเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียงสูงสุด มีผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้งการเลือกตั้งร้อยละ 58.91 การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดครั้งสุดท้ายของประเทศไทยก่อนการรัฐประหาร พ.ศ. 2557[3][4]

ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2557
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย บุศริณธญ์ วรพัฒนานันน์ (1) 289,463 61.16
อิสระ รัตนา จงสุทธานามณี (2)✔ 176,052 37.19 +9.80
อิสระ ยุรพันธ์ เจนพิทักษ์พงศ์ (3) 4,233 0.89
อิสระ ชนาธิป เจริญศัสตรารักษ์ (4) 3,577 0.76
ผลรวม 473,325 100.00
บัตรดี 473,325 91.15
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 33,608 6.47
บัตรเสีย 12,354 2.38
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 519,287 58.91
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 881,510 100.00
เพื่อไทย รักษาที่นั่ง

อ้างอิง

[แก้]
  1. ""หมอไก่" ผอ.รพ.นครพัฒน์ ลงสมัครนายก อบจ.ได้เบอร์ 3". dailynews. 2017-04-12.
  2. ""มาโนช เสนพงศ์" ซิวนายก อบจ.นครศรีฯ ฉลุย ทิ้งคู่แข่งขาดเกือบแสนคะแนน". mgronline.com. 2014-02-24.
  3. ""2 หญิง" ชิงนายก อบจ.เชียงราย ตร.รู้งานวิทยุเรียกขาน "ว่าที่นายก"". mgronline.com. 2014-04-08.
  4. "พี่สาว 'ยงยุทธ ติยะไพรัช' ซิว นายก อบจ.เชียงราย". www.thairath.co.th. 2014-05-11.