การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2556
จำนวนทั้งสิ้น 7 จังหวัดที่มีการเลือกตั้ง | ||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
| ||||||||||
แผนที่แสดงการเลือกตั้งนายก อบจ. ใน พ.ศ. 2556–57 มีการเลือกตั้ง ไม่มีการเลือกตั้ง | ||||||||||
แผนที่แสดงพรรคที่ผู้ชนะการเลือกตั้งสังกัด ประชาธิปัตย์ เพื่อไทย ไม่สังกัดพรรค ไม่มีการเลือกตั้ง |
การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2556 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (นายก อบจ.) ทั้งสิ้น 5 จังหวัด โดยเป็นจังหวัดที่นายก อบจ. ครบวาระ 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดพังงา, จังหวัดมุกดาหาร และจังหวัดสุราษฎร์ธานี ลาออก 2 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสงขลา และจังหวัดสตูล
นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดที่ได้รับเลือกตั้ง
[แก้]รูปแบบ | ความหมาย |
---|---|
ดำรงสมาชิกภาพ | |
สิ้นสุดสมาชิกภาพ | |
กกต./ศาลอุทธรณ์ สั่งให้มีการเลือกตั้งนายก อบจ.ใหม่ |
สี | พรรค |
---|---|
พรรคประชาธิปัตย์ |
แยกตามรายภาคตามการแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน
จังหวัด | นาม | สังกัด | หมายเหตุ | ||
---|---|---|---|---|---|
พังงา | บำรุง ปิยนามวาณิช | ผู้สมัครอิสระ | |||
มุกดาหาร | มลัยรัก ทองผา | ผู้สมัครอิสระ | |||
สงขลา | นิพนธ์ บุญญามณี | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
สตูล | สัมฤทธิ์ เลียงประสิทธิ์ | พรรคประชาธิปัตย์ | |||
สุราษฎร์ธานี | ทนงศักดิ์ ทวีทอง | พรรคประชาธิปัตย์ |
การเลือกตั้ง
[แก้]เรียงลำดับตามวันที่จัดการเลือกตั้ง
- 12 พฤษภาคม - พังงา
- 30 มิถุนายน - สตูล
- 4 สิงหาคม - สงขลา
- 15 กันยายน - สุราษฎร์ธานี
- 29 กันยายน - มุกดาหาร
พังงา
[แก้]จัดขึ้นในวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา สืบเนื่องจาก ฉกาจ พัฒนกิจวิบูลย์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงาได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระเมื่อวันที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2556 โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้
- หมายเลข 1 ฉกาจ พัฒนกิจวิบูลย์ อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา
- หมายเลข 2 บำรุง ปิยนามวาณิช อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา[1]
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา พ.ศ. 2556 | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
อิสระ | บำรุง ปิยนามวาณิช (2) | 48,468 | 53.98 | +10.32 | |
อิสระ | ฉกาจ พัฒนกิจย์วิบูลย์ (1)* | 41,318 | 46.02 | –0.04 | |
ผลรวม | 89,786 | 100.00 | — | ||
บัตรดี | 89,786 | 87.46 | – | ||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 8,766 | 8.54 | – | ||
บัตรเสีย | 4,108 | 4.00 | – | ||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | 102,660 | 55.30 | – | ||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | 185,665 | 100.00 | — | ||
อิสระ รักษาที่นั่ง |
สตูล
[แก้]จัดขึ้นในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2556 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล สืบเนื่องจาก สัมฤทธิ์ เลียงประสิทธิ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล ได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้
- หมายเลข 1 สัมฤทธิ์ เลียงประสิทธิ์ อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล สังกัด พรรคประชาธิปัตย์ [2]
- หมายเลข 2 ซอซีฮีล อิสมาแอล ลงสมัครในนามกลุ่มสตูลอาเซียน
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสตูล พ.ศ. 2556 | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | สัมฤทธิ์ เลียงประสิทธิ์ (1)* | 67,307 | 55.46 | –16.28 | |
กลุ่มสตูลอาเซียน | ซอซีฮีล อิสมาแอล (2) | 54,059 | 44.54 | – | |
ผลรวม | 121,366 | 100.00 | — | ||
บัตรดี | 121,366 | 88.78 | – | ||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | 136,700 | 65.40 | – | ||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | 209,006 | 100.00 | — | ||
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง |
สงขลา
[แก้]จัดขึ้นในวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2556 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา สืบเนื่องจาก อุทิศ ชูช่วย นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ได้ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2556 โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้
- หมายเลข 1 อุทิศ ชูช่วย อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา ลงสมัครในนามกลุ่มสงขลาพัฒนา
- หมายเลข 2 นิพนธ์ บุญญามณี อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสงขลา สังกัด พรรคประชาธิปัตย์[3][4]
- หมายเลข 3 พิณ คงเอียง
- หมายเลข 4 จรัญ อรุณพันธุ์ ลงสมัครในนามกลุ่มสงขลาพอเพียง
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา พ.ศ. 2556 | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | นิพนธ์ บุญญามณี (2) | 347,589 | 0.68 | – | |
กลุ่มสงขลาพัฒนา | อุทิศ ชูช่วย (1)* | 243,639 | 40.49 | –9.49 | |
กลุ่มสงขลาพอเพียง | จรัญ อรุณพันธ์ (4) | 6,343 | 1.05 | – | |
อิสระ | พิณ คงเอียง (3) | 4,114 | 0.68 | – | |
ผลรวม | 601,685 | 100.00 | — | ||
บัตรดี | 601,685 | 92.21 | – | ||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 36,207 | 5.55 | – | ||
บัตรเสีย | 14,644 | 2.24 | – | ||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | 652,536 | 66.99 | – | ||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | 974,035 | 100.00 | — |
สุราษฎร์ธานี
[แก้]จัดขึ้นในวันที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2556 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี สืบเนื่องจาก มนตรี เพชรขุ้ม นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้
- หมายเลข 1 สรรเสริญ ฤกษ์อุไร
- หมายเลข 2 มนตรี เพชรขุ้ม อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี ลงสมัครในนามกลุ่มสุราษฎร์ร่มเย็น
- หมายเลข 3 ทนงศักดิ์ ทวีทอง สังกัดพรรคประชาธิปัตย์[5][6]
- หมายเลข 4 วิรัตน์ อดุลย์วิโรจน์
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2556 | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
ประชาธิปัตย์ | ทนงศักดิ์ ทวีทอง (3) | 259,739 | 67.34 | – | |
กลุ่มสุราษฎร์ร่มเย็น | มนตรี เพชรขุ้ม (2)* | 243,639 | 30.92 | –7.21 | |
อิสระ | สรรเสริญ ฤกษ์อุไร (1) | 5,024 | 1.30 | – | |
อิสระ | วิรัตน์ อดุลย์วิโรจน์ (4) | 1,676 | 0.43 | – | |
ผลรวม | 385,706 | 100.00 | — | ||
บัตรดี | 385,706 | 95.69 | – | ||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | 12,437 | 3.09 | – | ||
บัตรเสีย | 4,931 | 1.22 | – | ||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | 403,081 | 54.90 | – | ||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | 734,257 | 100.00 | — |
มุกดาหาร
[แก้]จัดขึ้นในวันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2556 เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมุกดาหาร สืบเนื่องจาก มลัยรัก ทองผา นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมุกดาหาร ได้ตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้สมัครทั้งหมดดังนี้
- หมายเลข 1 สมประดิษฐ์ ไตรยวงศ์
- หมายเลข 2 มลัยรัก ทองผา อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมุกดาหาร[7]
- หมายเลข 3 วรศุลี สุวรรณปริสุทธิ์
- หมายเลข 4 เรือนแก้ว ศรีหาคิม
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมุกดาหาร พ.ศ. 2556 | |||||
---|---|---|---|---|---|
พรรค | ผู้สมัคร | คะแนนเสียง | % | ± | |
อิสระ | มลัยรัก ทองผา (2)* | 48,976 | 30.68 | –19.45 | |
อิสระ | สมประดิษฐ์ ไตรยวงค์ (1) | 42,925 | 26.89 | – | |
อิสระ | วรศุลี สุวรรณปริสุทธิ์ (3) | 40,405 | 25.31 | – | |
อิสระ | เรือนแก้ว ศรีหาคิม (4) | 27,303 | 17.11 | – | |
ผลรวม | 159,609 | 100.00 | — | ||
บัตรดี | 159,609 | – | |||
ไม่ประสงค์ลงคะแนน | – | ||||
บัตรเสีย | – | ||||
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง | – | ||||
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง | — |
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ ""บำรุง ปิยนามวาณิช" ชิงเก้าอี้นายก อบจ.พังงา คืนสำเร็จ". mgronline.com. 2013-05-13.
- ↑ "เลือกตั้งนายก อบจ.สตูล พรรคประชาธิปัตย์ยังกำชัย". www.thairath.co.th. 2013-07-01.
- ↑ "'นิพนธ์' เข้าวินเลือกตั้งนายกอบจ.สงขลา ทิ้งขาดคู่แข่งกว่าแสน". www.thairath.co.th. 2013-08-04.
- ↑ "ผลการเลือกตั้ง "นายก อบจ.สงขลา"อย่างไม่เป็นทางการ "นิพนธ์ บุญญามณี" ชนะ "อุทิศ ชูช่วย" ขาดลอย โดย "อุทิศ" ได้ 243,639 คะแนน ขณะที่ "นิพนธ์" ได้ 374,589 คะแนน". ผลการเลือกตั้ง "นายก อบจ.สงขลา"อย่างไม่เป็นทางการ "นิพนธ์ บุญญามณี" ชนะ "อุทิศ ชูช่วย" ขาดลอย โดย "อุทิศ" ได้ 243,639 คะแนน ขณะที่ "นิพนธ์" ได้ 374,589 คะแนน ~ อ่าน วารสาร. 2013-08-05.
- ↑ "ผลเลือกตั้งนายก อบจ.สุราษฎร์ฯ "ทวีศักดิ์" ปชป.โค่นแชมป์เก่า "มนตรี"". mgronline.com. 2013-09-16.
- ↑ ""ทนงศักดิ์"ผงาดนั่งเก้าอี้นายกเล็กสุราษฎร์". posttoday. 2013-09-15.
- ↑ "ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมุกดาหาร อย่างไม่เป็นทางการ". 30 กันยายน 2013. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-24. สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2022.