การประท้วงในอิรัก พ.ศ. 2562–2564
การประท้วงในอิรัก พ.ศ. 2562–2564 | |||
---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ การประท้วงอาหรับ ค.ศ. 2018–2022, วิกฤตอ่าวเปอร์เซีย ค.ศ. 2019–2021 | |||
การประท้วงที่แบกแดดในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2019 | |||
วันที่ | 1 ตุลาคม ค.ศ. 2019 – 3 มกราคม ค.ศ. 2020 (มีการประท้วงเป็นครั้งคราวจนถึง ค.ศ. 2021) | ||
สถานที่ | ประเทศอิรัก | ||
สาเหตุ |
| ||
เป้าหมาย | |||
วิธีการ | |||
ผล |
| ||
คู่ขัดแย้ง | |||
ผู้นำ | |||
| |||
ความเสียหาย | |||
เสียชีวิต | 600 - 1,000 | ||
บาดเจ็บ | มากกว่า 4,000 | ||
ถูกจับกุม | 4,600 | ||
ข้อมุลผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บ: 13 มกราคม ค.ศ. 2020 จาก Iraqi Warcrimes Documentation Center[9] |
การประท้วงในอิรัก พ.ศ. 2562–2564 เป็นชุดการประท้วงในประเทศอิรักที่เริ่มเกิดขึ้นในวันที่ 1 ตุลาคม ค.ศ. 2019 ซึ่งเป็นวันที่นักเคลื่อนไหวจัดการประท้วงในสื่อสังคมทั่วเขตผู้ว่าการทางตอนกลางและตอนใต้ของประเทศอิรัก เพื่อประท้วงทั้งการฉ้อราษฎร์บังหลวงวงเรื่อง, การว่างงาน, การแบ่งพวกทางการเมือง, บริการสาธารณระย่ำแย่ และการแทรกแซง การประท้วงลุกลามถึงการเรียกร้องให้โค่นรัฐบาลอิรัก ฝ่ายรัฐบาลใช้กองกำลังติดอาวุธที่อิหร่านหนุนหลัง ซึ่งใช้กระสุนจริง, นักแม่นปืน, น้ำร้อน, แก๊สพริกไทยร้อน และแก๊สน้ำตาต่อผู้ประท้วง ทำให้มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บหลายคน[10][11][12][13]
ผู้ประท้วงเรียกร้องให้หยุดระบบการเมืองแบบแบ่งแยกที่สหรัฐและพันธมิตรจัดตั้งขึ้นหลังการรุกรานที่นำโดยสหรัฐใน ค.ศ. 2003[14][15][16] และการประท้วงครั้งนี้ถือเป็นการก่อความไม่สงบมากที่สุดนับตั้งแต่การุกรานใน ค.ศ. 2003[17]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Iraqi protesters block major port near Basra as unrest continues". Al Jazeera. 2 November 2019.
- ↑ "Anti-government protests : Is This Iraq's Arab Spring?—Qantara.de". Qantara.de. 6 November 2019.
- ↑ "Protests in Iraq turn into anti-Iranian demonstrations". Daily Sabah. 27 October 2019.
- ↑ Abdul-Ahad, Ghaith (29 October 2019). "Iraq's young protesters count cost of a month of violence". The Guardian.
- ↑ "New Iraqi party challenges Iran, advocates for normalisation | Hammam Latif". AW.
- ↑ Morgan, Azaria (3 October 2019). "Protest movements in Iraq in the age of a 'new civil society'".
- ↑ Rubin, Alissa J. (4 November 2019). "Iraqis Rise Against a Reviled Occupier: Iran". The New York Times.
- ↑ Al-Janabi, Abdul-Qadir (20 October 2019). "من هو أبوزينب اللامي.. ولماذا يتهم بتصفية متظاهري العراق؟". Al-Arabiya (ภาษาอาหรับ).
- ↑ "مركز توثيق جرائم الحرب بالعراق: 669 قتيلاً بالمظاهرات" [Iraqi War Crime Documentation Centre: 669 demonstrators killed]. Al Arabiya (ภาษาอาหรับ). 13 January 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 14 January 2020. สืบค้นเมื่อ 23 January 2020.
- ↑ "Iraq: HRW denounces lethal force against protesters, urges probe". www.aljazeera.com.
- ↑ Arraf, Jane (2021-09-18). "'There Is Chaos': Iran-Backed Militias Battle Activists in a Holy Iraqi City". The New York Times (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0362-4331. สืบค้นเมื่อ 2021-10-18.
- ↑ "Exclusive: Iran-backed militias deployed snipers in Iraq protests - sources". Reuters (ภาษาอังกฤษ). 2019-10-17. สืบค้นเมื่อ 2021-10-18.
- ↑ "Pro-Iran militia supporters converge on Baghdad protests". the Guardian (ภาษาอังกฤษ). 2019-12-05. สืบค้นเมื่อ 2021-10-18.
- ↑ "Iraq protests: What's behind the anger?". BBC News. 7 October 2019. สืบค้นเมื่อ 27 October 2019.
- ↑ "'They are worse than Saddam': Iraqis take to streets to topple regime". The Guardian. 27 October 2019. สืบค้นเมื่อ 28 October 2019.
- ↑ "An Iraq for All Iraqis?". Providence (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 26 November 2019. สืบค้นเมื่อ 28 November 2019.
- ↑ "Iraq Protester's Step Up Their Tactics As the Government in Baghdad Scrambles to Respond". Foreign Policy. 7 November 2019. สืบค้นเมื่อ 18 November 2019.