ข้ามไปเนื้อหา

การประท้วงในประเทศพม่า พ.ศ. 2564–ปัจจุบัน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การประท้วงในประเทศพม่า พ.ศ. 2564–2565
(การปฏิวัติฤดูใบไม้ผลิพม่า)
ส่วนหนึ่งของ ความขัดแย้งภายในพม่า
ตามเข็มนาฬิกาจากบน:
  • ผู้ประท้วงพันกว่าคนร่วมเดินขบวนต่อต้านทหารที่ย่างกุ้ง
  • ผู้ประท้วงชูสามนิ้ว
  • ผู้ประท้วงในยานพาหนะชูสโลแกนต่อต้านทหาร
  • กลุ่มผู้ประท้วงสร้างโซ่มนุษย์ในย่าน Kamayut ย่างกุ้ง
  • กลุ่มผู้ประท้วงประณามมินอ่องหล่าย และสะบัดธงพรรค NLD
วันที่2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564 – ปัจจุบัน
สถานที่ประเทศพม่า
สาเหตุรัฐประหารในประเทศพม่า พ.ศ. 2564
เป้าหมาย
วิธีการการเดินขบวน, การนัดหยุดงาน, การดื้อแพ่ง, ความเคลื่อนไหวทางอินเทอร์เน็ต, ศิลปะการประท้วง
สถานะยังดำเนินอยู่
คู่ขัดแย้ง
ผู้นำ
สภาบริหารแห่งรัฐ:
ความเสียหาย
เสียชีวิตผู้ประท้วง 2,327 คน (จากAAPP)[6]
ตำรวจ 47 นายและทหาร 7 นาย
(จากSAC; ในวันที่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 2021)[a][9][10]
ถูกจำคุกปัจจุบันถูกคุมคัว 15,691 คน (จากAAPP)[6]

การประท้วงในประเทศพม่า พ.ศ. 2564–2565 รู้จักกันในประเทศว่า การปฏิวัติฤดูใบไม้ผลิ (พม่า: နွေဦးတော်လှန်ရေး, เสียงอ่านภาษาพม่า: [nwè.ú.tɔ̀.l̥àɰ̃.jé])[11][12] เป็นความพยายามขัดขืนของพลเมืองในประเทศพม่าต่อรัฐประหารซึ่งพลเอกอาวุโส มี่นอองไลง์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุดของพม่า ก่อขึ้นในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2564[13] โดยจนถึงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ มีบุคคลอย่างน้อย 452 คนถูกกักขังเนื่องจากรัฐประหาร[14] ผู้ประท้วงใช้วิธีการประท้วงแบบสันติวิธีและปราศจากความรุนแรง[15] ซึ่งได้แก่การดื้อแพ่ง การนัดหยุดงาน การรณรงค์คว่ำบาตรกองทัพ ขบวนการตีหม้อ การรณรงค์ริบบิ้นแดง การประท้วงสาธารณะ และการรับรองผลการเลือกตั้งอย่างเป็นทางการโดยผู้แทนราษฎรที่มาจากการเลือกตั้ง

สัญลักษณ์ในการประท้วง ประกอบด้วยสีแดงซึ่งเป็นสีของพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย (NLD),[16] เพลง "กาบามาเจบู" (ကမ္ဘာမကျေဘူး) ซึ่งได้รับความนิยมครั้งแรกในการก่อการกำเริบ 8888 เป็นเพลงประท้วง[17][18][19] สัญลักษณ์สามนิ้วยังมีการใช้อย่างกว้างขวาง[20] ส่วนชาวเน็ตนิยมประชาธิปไตยบางส่วนเข้าร่วมพันธมิตรชานม ซึ่งเป็นขบวนการความเป็นปึกแผ่นประชาธิปไตยออนไลน์ในทวีปเอเชีย[21]

ฝ่ายรัฐบาลทหารมีมาตรการตอบโต้หลายวิธี รวมทั้งการสั่งปิดอินเทอร์เน็ตและสื่อสังคม การปิดสื่อ การจับกุมและลงโทษอาญาต่อผู้ประท้วง การเผยแพร่สารสนเทศเท็จ การทาบทามทางการเมืองต่อพรรคการเมืองให้เข้าร่วมสภาบริหารแห่งรัฐ (สภาชั่วคราว) การส่งผู้ประท้วงและผู้ปลุกระดมฝั่งนิยมทหาร และการใช้กำลังรุนแรงเพื่อปราบปรามการประท้วง ในปัจจุบันมีผู้เสียชีวิตจากเหตุการณ์ดังกล่าวจำนวนมาก ไม่เว้นแม้กระทั่งผู้พิพากษา[22]สตรี เด็ก และเยาวชน ที่ต่างถูกสังหารในเหตุการณ์ครั้งนี้ อาจจะทวีคูณขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ดูเพิ่ม

[แก้]

หมายเหตุ

[แก้]
  1. ตำรวจหนึ่งนายเสียชีวิตขณะอยู่ในกลุ่มผู้ประท้วง[7] และรวมจำนวนผู้ประท้วงที่เสียชีวิตของ AAPP ด้วย[8]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Myanmar's Military Leader Declares Himself Prime Minister And Promises Elections". Associated Press. NPR. 2 August 2021. สืบค้นเมื่อ 10 August 2021.
  2. Bodea, Malina (2021-02-28). "Myanmar's Military-Led Coup: A Stop Sign On The Path To Democracy". The Organization for World Peace (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2021-03-01.
  3. Limited, Bangkok Post Public Company. "Down but not out". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 2021-03-01.
  4. https://www.businessinsider.com/china-russia-block-un-security-council-condemn-myanmar-coup-2021-2
  5. "Hundreds attend pro-military protest in defiance of Covid-19 restrictions". Myanmar-now. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 October 2021. สืบค้นเมื่อ 8 February 2021.
  6. 6.0 6.1 ASSISTANCE ASSOCIATION FOR POLITICAL PRISONERS (BURMA)
  7. Yildiz Faruk, Omer (4 April 2021). "Myanmar: 6 cops dead as protesters attack police post". Anadolu Agency. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 April 2021. สืบค้นเมื่อ 4 April 2021.
  8. "Crackdown Injury & Death List" (PDF). Assistance Association for Political Prisoners. 4 April 2021. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 23 May 2021. สืบค้นเมื่อ 5 April 2021.
  9. Staff (23 May 2021). "Fighting surges in Myanmar's growing anti-junta conflict". Reuters. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 May 2021. สืบค้นเมื่อ 23 May 2021.
  10. "Myanmar air bases come under rocket fire". 29 April 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 April 2021. สืบค้นเมื่อ 4 May 2021.
  11. "'Spring Revolution': Myanmar protests swell despite military junta's threat of force". Associated Press via Global News. 21 February 2021. สืบค้นเมื่อ 15 March 2021.
  12. Ratcliffe, Rebecca (22 February 2021). "Myanmar junta warns of lethal force as crowds gather for 'five twos revolution'". The Guardian (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 22 February 2021. สืบค้นเมื่อ 22 February 2021.
  13. "Anti-Coup Protest on Streets of Myanmar's Second City". US News. 3 February 2021.
  14. "Daily Briefing in Relation to the Military Coup". aappb.org | Assistance Association for Political Prisoners. 6 February 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 February 2021. สืบค้นเมื่อ 16 February 2021.
  15. "Myanmar adopts nonviolent approach to resist army coup". Arab News (ภาษาอังกฤษ). 3 February 2021. สืบค้นเมื่อ 7 February 2021.
  16. Carly Walsh and Akanksha Sharma. "Protests break out in Myanmar in defiance of military coup". cnn.com. สืบค้นเมื่อ 7 February 2021.
  17. "Myanmar restaurant in Bangkok promotes anti-coup activity". AP NEWS. 6 February 2021. สืบค้นเมื่อ 8 February 2021.
  18. "Resistance to coup grows despite Myanmar's block of Facebook". AP NEWS. 4 February 2021. สืบค้นเมื่อ 8 February 2021.
  19. "Songwriter Who Provided "Theme Song" to 8888 Uprising Finally Honored". The Irrawaddy. 9 August 2018. สืบค้นเมื่อ 4 February 2021.
  20. "Myanmar blocks Facebook as resistance grows to military coup". ABC News (Australia). 5 February 2021. สืบค้นเมื่อ 5 February 2021.{{cite web}}: CS1 maint: url-status (ลิงก์)
  21. "#MilkTeaAlliance has a new target brewing: Myanmar's military". South China Morning Post. 4 February 2021. สืบค้นเมื่อ 5 February 2021.
  22. ผู้พิพากษาผู้สั่งจำคุกฝ่ายต้านรัฐประหารถูกลอบยิงเสียชีวิต รวมเจ้าหน้าที่รัฐพม่าถูกล่า 6 รายใน 4 วัน