ข้ามไปเนื้อหา

กองทัพเปรู

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กองทัพเปรู
Fuerzas Armadas del Perú
ก่อตั้งค.ศ. 1821
เหล่า กองทัพบก

กองทัพเรือ

กองทัพอากาศ
กองบัญชาการลิมา
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บัญชาการทหารประธานาธิบดี โอยันตา อูมาลา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมPeter Cateriano Bellido
เสนาธิการกลาโหมพลเอก เลโอเนล คาร์เบรลาร์ ปิโน[1]
กำลังพล
อายุเริ่มบรรจุ18
การเกณฑ์ถูกยกเลิกในปี ค.ศ. 1999 และ เปลี่ยนมาใช้การเป็นทหารโดยวิธีสมัครใจ ในรูปแบบพลอาสาสมัตรแทน.[2]
ประชากร
วัยบรรจุ
7,920,056, อายุ 17-45[4]
ประชากร
ฉกรรจ์
6,045,256, อายุ 17-45[4]
ประชากรวัยถึงขั้น
ประจำการทุกปี
312,375
ยอดประจำการ120,658 (2001)[3]
รายจ่าย
ร้อยละต่อจีดีพี1.5% (2006 est.)
อุตสาหกรรม
แหล่งผลิตนอกประเทศธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
 สหรัฐอเมริกา
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
ธงของประเทศเบลารุส เบลารุส
ธงของประเทศสเปน สเปน
 จีน
ธงของประเทศอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
 เกาหลีใต้
ธงของประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย
ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล
ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
 คิวบา
บทความที่เกี่ยวข้อง
ประวัติประวัติศาสตร์ทางทหารของเปรู
ยศยศทหาร
เครื่องอิสริยาภรณ์

กองทัพเปรู (สเปน: Fuerzas Armadas del Perú) อยู่ภายใต้การควบคุมของผู้บัญชาการทหารสูงสุด (ประธานาธิบดี) และบริหารจัดการโดย กระทรวงกลาโหม ประกอบด้วย กองทัพบก กองทัพเรือ และกองทัพอากาศ มีหน้าที่หลักคือดูแลความปลอดภัยของอิสรภาพ เอกราช และ บูรณภาพดินแดนของประเทศ รวมถึงภารกิจต่อต้านการก่อการร้ายระหว่างประเทศ ภารกิจสนับสนุนในการรักษาความสงบเรียบร้อย พิทักษ์ผลประโยชน์และทรัพยากรของชาติในเขตเศรษฐกิจจำเพาะ รวมถึงช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติร่วมกับกองกำลังเฉพาะกิจอาสาสมัครรักษาดินแดน[5]

ตำรวจแห่งชาติเปรู มีสถานะเป็นเดียวกับกองทัพ. ภารกิจหลักมีหน้ารักษาความสงบเรียบร้อย และ ป้องกับอาชญากรรม, โดยมีหน่วยปฏิบัติการพิเศษในการต่อต้านการก่อการร้ายร่วมกับฝ่ายทหาร กำลังพลตำรวจมีทั้งหมด 140,000 นาย ตำรวจแห่งชาติบริหารจัดการโดยพลเรือนผ่านกระทรวงมหาดไทย

อ้างอิง

[แก้]

หนังสืออ่านเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

แม่แบบ:กองทัพเปรู